Page 132 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 132
จอกฤๅษี
จอกฤาษี สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Paraboea strobilacea (Barnett) C. Puglisi
วงศ์ Gesneriaceae
ชื่อพ้อง Dichiloboea strobilacea Barnett, Trisepalum strobilaceum (Barnett)
B. L. Burtt
ไม้ล้มลุก สูงประมาณ 20 ซม. ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน
ยาว 11-14 ซม. ขอบจักมน แผ่นใบมีขนกระจาย ก้านใบยาวได้ถึง 4 ซม. ใบช่วง
ปลายก้านสั้นโอบหุ้มล�าต้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกซ้อน ก้านช่อยาวได้ถึง 5 ซม.
ช่อซ้อนเหลื่อมกันคล้ายรูปโคน ยาวได้ถึง 4 ซม. ใบประดับรูปครึ่งวงกลม ออก จอกหูหนู: เฟินขึ้นในน�้า ใบที่โผล่พ้นน�้าโคนโค้งเข้าหากัน ใบใต้น�้าสร้างสปอร์เป็นเส้นคล้ายราก สปอโรคาร์ปเกิดที่
เป็นคู่ซ้อนกัน ยาวประมาณ 3 ซม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 ซม. กลีบบนแยก ใบใต้น�้าเป็นกลุ่ม ๆ (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
เป็น 3 กลีบ แฉกลึกประมาณ 5 มม. กลีบล่าง 2 กลีบ แฉกลึกถึงโคน ดอกรูประฆัง จันเขา
เบี้ยว ยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบดอกขนาดประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้ยาวประมาณ Diospyros dasyphylla Kurz
2 มม. อับเรณูกางออก ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 8 มม. มีขน ยอดเกสรแบน
ผลแห้งแตกรูปกระสวย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชาฤๅษี, สกุล) วงศ์ Ebenaceae
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นบนเขาหินปูน ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งและใบอ่อน ก้านใบ ก้านดอก กลีบเลี้ยง
ความสูงประมาณ 850 เมตร และกลีบดอกด้านนอก ใบรูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ ยาว 7-20 ซม. ปลายแหลมยาว
มีติ่งแหลม โคนมน กลม หรือเว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ 12-14 เส้น ก้านใบยาว
เอกสารอ้างอิง 2.5-5 มม. ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุก ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 2-3 มม.
Barnett, E.C. (1961). New species of the Gesneriaceae from Thailand (Dichiloboea มี 4 กลีบ แฉกลึกจรดโคน ดอกรูปหลอด ยาว 6-7 มม. มี 4 กลีบ แฉกลึกประมาณ
strobilacea). Natural History Bulletin of the Siam Society 20: 25.
กึ่งหนี่ง เกสรเพศผู้ 12-16 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญมีขนยาว ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ
ก้านดอกยาว 2-3 มม. รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 ซม.
ก้านผลหนา ยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงแฉกลึกจรดโคน กลีบพับงอ ด้านนอก
มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น ด้านในเกลี้ยง เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
มะเกลือ, สกุล)
พบที่อินเดีย พม่า และลาว ในไทยพบกระจายทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และ
ป่าดิบแล้ง ความสูง 100-1000 เมตร
จันดำา
Diospyros venosa Wall. ex A. DC. var. olivacea (King & Gamble) Ng
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปรี หรือรูปไข่ ยาว 3.5-7 ซม. ปลายแหลม มน หรือ
มีติ่งแหลม โคนมน กลม เส้นแขนงใบข้างละ 16-10 เส้น แผ่นใบด้านล่างมีขน
จอกฤๅษี: ช่อดอกซ้อนเหลื่อมกันคล้ายรูปโคน ใบประดับรูปครึ่งวงกลม ออกเป็นคู่ซ้อนกัน กลีบดอกรูประฆัง เบี้ยว ประปราย ก้านใบยาวประมาณ 5 มม. ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกหรือแยกแขนง
(ภาพ: ทองผาภูมิ กาญจนบุรี - TP) สั้น ๆ ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 1-2 มม.
มี 3-4 กลีบ แฉกตื้น ๆ ไม่เกินกึ่งหนึ่ง ดอกรูปคนโท ยาว 3-5 มม. มี 4 กลีบ แฉก
จอกหูหนู ตื้น ๆ เกสรเพศผู้ 6-16 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญเกลี้ยง ดอกเพศเมียออกเป็นช่อกระจุก
Salvinia cucullata Roxb. ex Bory สั้น ๆ รังไข่เกลี้ยง เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 3-6 อัน เกลี้ยง ผลรูปรี ยาว 1-2.5 ซม.
วงศ์ Salviniaceae ก้านผลยาว 1-3 มม. กลีบเลี้ยงแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง พับงอกลับ เกลี้ยง
เฟินลอยบนน�้า มีไหลสั้น ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 มม. มีขนสีน�้าตาล แต่ละข้อ เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)
มี 3 ใบ เรียงหนาแน่น สองใบไม่สร้างสปอร์ ลอยบนผิวน�้า รูปร่างค่อนข้างกลม พบที่อินเดีย พม่า กัมพูชา เวียดนาม คาบสมุทรมลายู ชวา สุมาตรา และ
กว้างประมาณ 2 ซม. ยาว 1.2-1.5 ซม. โคนใบด้านข้างโค้งเข้าหากัน ขอบเรียบ บอร์เนียว ในไทยส่วนมากพบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ พบประปราย
แผ่นใบหนานุ่ม ด้านบนมีปุ่มกระจาย ด้านล่างมีขนสีน�้าตาลประปราย เส้นใบ ทางภาคกลาง และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง
สานกันเป็นร่างแห ใบใต้น�้าสร้างสปอร์ เป็นเส้นคล้ายราก ยาว 3-5 ซม. สปอโรคาร์ป ถึงประมาณ 500 เมตร ส่วน var. venosa แผ่นใบด้านล่างมีขนก�ามะหยี่หนาแน่น
เกิดที่ใบใต้น�้าเป็นกลุ่ม ๆ ละ 6-8 อัน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มม. มี 2 อัน
ที่สร้างเมกะสปอร์ เอกสารอ้างอิง
Ng, Francis S.P. (2002). Ebenaceae. In Tree Flora of Sabah and Sarawak Vol.
พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทย 4: 98-99.
พบทุกภาค ขึ้นหนาแน่นในหนองน�้าที่เป็นที่โล่ง ทั้งต้นใช้เลี้ยงหมูและท�าปุ๋ยหมัก Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 278-279, 349.
สกุล Salvinia Ség. มีประมาณ 10 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกาและแอฟริกา
ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ แหนใบมะขาม S. natans (L.) All. ชื่อสกุลตั้งตาม
ศาสตราจารย์ด้านกรีกศึกษาชาวอิตาลี Antonio Maria Salvini (1633-1729)
เพื่อนของนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Pier’ Antonio Micheli (1679-1737)
เอกสารอ้างอิง
Lin, Y., S. Lei, M. Funston and M.G. Gilbert. (2013). Salviniaceae. In Flora of
China Vol. 2-3: 125.
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Salviniaceae. In Flora of Thailand Vol. 3(4): จันเขา: เปลือกเรียบสีเทาด�า ผลกลม ก้านผลหนา กลีบเลี้ยงแฉกลึกจรดโคน กลีบพับงอ ด้านนอกมีขนก�ามะหยี่
603-604. หนาแน่น (ภาพ: ป่าละอู ประจวบคีรีขันธ์ - SSi)
112
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 112 3/1/16 5:18 PM