Page 134 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 134
จันทน์ม่วง
จันทน์ม่วง สารานุกรมพืชในประเทศไทย จาก
Myristica elliptica Wall. ex Hook. f. & Thomson Nypa fruticans Wurmb
วงศ์ Myristicaceae วงศ์ Arecaceae
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. แยกเพศต่างต้น โคนต้นมีพูพอนหรือรากค�้ายัน สูง ปาล์มแตกกอ แยกเพศร่วมต้น ใบแบบขนนก เรียงเวียน 4-7 ใบ แกนกลาง
0.5-1 ม. มีรากหายใจรูปหัวเข่า เปลือกมีช่องอากาศกระจาย กิ่งห้อย ใบเรียงเวียน ยาว 6-7 ม. ก้านใบและกาบยาว 1.3-1.8 ม. ใบย่อยมีข้างละ 70-80 ใบ เรียงสลับ
ใบรูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 9-32 ซม. แผ่นใบหนา ด้านล่างมีนวล ก้านใบยาว รูปแถบ ยาว 100-120 ซม. โคนตัด กาบหนาแข็งคล้ายเนื้อไม้ ด้านบนเป็นร่อง
1.5-2.5 ซม. ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ ยาว 1-2.5 ซม. มีขนแบน ก้านดอก ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 1-1.7 ม. ก้านช่อหนา ยาว 60-90 ซม. ใบประดับ
ยาวประมาณ 3 มม. กลีบรวม 3 กลีบ ดอกเพศผู้เป็นหลอดแคบ ๆ ยาว 7-9 มม. คล้ายกาบ ยาว 30-40 ซม. ก้านยาว 20-30 ซม. ช่อดอกย่อยแบบช่อเชิงลด ยาว
ปลายแฉกลึกประมาณหนึ่งในสาม ดอกเพศเมียรูปไข่ ยาว 6-8 มม. เกสรเพศผู้ 7-12 ซม. ช่อดอกเพศผู้มี 5-8 ช่อ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 3 กลีบ
เชื่อมติดกันเป็นเส้าเกสร อับเรณูรูปเส้นด้ายติดกัน เกสรเพศเมียไร้ก้าน ยอดเกสร รูปแถบ ยาวประมาณ 2 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน ยาว 4-5 มม.
เพศเมียจัก 2 พู ตื้น ๆ ผลสด รูปรี ยาว 4.5-7.5 ซม. มีขนละเอียด สุกสีเหลืองอมส้ม ช่อดอกเพศเมียมีช่อเดียว ทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-8 ซม. ดอกบานหลัง
เปลือกหนา แตกเป็น 2 ซีก ก้านเทียมยาวได้ถึง 1.2 ซม. ก้านผลยาว 0.5-1 ซม. ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกยาว 3-4 มม. ยอดเกสรเพศเมียติดทน ผลติด
มีเมล็ดเดียว เป็นมันเงา มีเยื่อหุ้มเป็นริ้ว เป็นกลุ่มอัดแน่น ผลย่อยรูปไข่กลับ ยาว 8-11 ซม. เป็นเหลี่ยมและมีสัน เปลือกหนา
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ มีเส้นใยเหนียว เนื้อในกะลาสีขาวใส
นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ป่าพรุน�้าจืด และริมฝั่งแม่น�้า ความสูงระดับต�่า ๆ พบที่อินเดีย ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียตอนบน และหมู่เกาะ
แปซิฟิก พบตามชายคลองใกล้ชายฝั่งทะเล ป่าชายเลน ใบอ่อนตากแห้งใช้มวนยาสูบ
สกุล Myristica Gronov. มีประมาณ 175 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน ออสเตรเลีย ห่อขนม ท�าที่ตักน�้า หมาจาก ใบแก่ใช้มุงหลังคา เนื้อในเมล็ดกินได้
และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 8 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “myristikos”
กลิ่นหอม และ “myron” น้ำาหอม เนื่องจากเมล็ดให้น้ำามันมีกลิ่นหอม สกุล Nypa Steck มีชนิดเดียว และเพียงสกุลเดียวภายใต้วงศ์ย่อย Nypoideae
ชื่อสกุลเป็นภาษามาเลย์ “nipah” ที่เรียกพืชชนิดนี้
เอกสารอ้างอิง
de Wilde, W.J.J.O. (2002). Myristicaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 770-771. เอกสารอ้างอิง
Barfod, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol.
11(3): 455-458.
จันทน์ม่วง: ใบเรียงเวียน แผ่นใบด้านล่างมีนวล ผลเปลือกหนา เมล็ดมีเยื่อหุ้มเป็นริ้ว (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - MP)
จันทร์เชียงดาว จาก: ปาล์มแตกกอ กาบหนาและแข็ง ช่อดอกย่อยแบบช่อเชิงลด ช่อดอกเพศผู้มี 5-8 ช่อ ช่อดอกเพศเมียมีช่อเดียว
Pedicularis thailandica T. Yamaz. ทรงกลม ผลติดเป็นกลุ่มอัดแน่น (ภาพต้นและภาพช่อผล: ระนอง - RP; ภาพช่อดอก: สมุทรสาคร - PK)
วงศ์ Orobanchaceae จากเขา
ไม้ล้มลุกเบียนรากพืชอื่น สูง 40-50 ซม. ล�าต้นมีขนยาว ใบเรียงเป็นวงรอบ 4 ใบ Eugeissona tristis Griff.
ยาว 3-5 ซม. แฉกลึกแบบขนนก 5-8 คู่ รูปแถบ ขอบจักซี่ฟัน มีขนยาว ดอกออก วงศ์ Arecaceae
เดี่ยว ๆ เป็นกระจุก 2-4 ดอก ตามซอกใบรอบข้อ ก้านดอกสั้นมาก หลอดกลีบเลี้ยง
เรียวแคบ ยาวประมาณ 7 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปแถบ ยาวประมาณ 2 มม. ปาล์มแตกกอ ล�าต้นทอดเลื้อยอยู่ใต้ดิน ส่วนมากมีรากค�้ายัน แยกเพศและ
ขอบจักถี่ ดอกสีขาวหรือเหลืองอ่อน มีต่อมขนหนาแน่น หลอดกลีบดอกยาว มีดอกสมบูรณ์เพศร่วมต้น ใบแบบขนนก เรียงเวียน 7-10 ใบ ยาวได้ถึง 8 ม. ก้านยาว
ประมาณ 2 ซม. ปลายงุ้มเป็นหมวกงอเข้า ปลายแหลมหรือแยกเป็น 2 แฉกสั้น ๆ ได้ถึง 3 ม. กาบยาวได้ถึง 1 ม. แกนกลางและก้านใบมีหนามติดเป็นกลุ่ม 2-3 อัน
กลีบปากล่างยาวประมาณ 8 มม. แยก 3 กลีบ กลีบกลางยาวประมาณ 3 มม. ยาวได้ถึง 5 ซม. ใบย่อยจ�านวนมาก เรียงสลับ รูปแถบ ยาว 45-90 ซม. ไร้ก้าน
กลีบคู่ข้างสั้นกว่าเล็กน้อย ผลรูปไข่กว้าง ยาว 7-8 มม. ปลายเป็นติ่งแหลม (ดูข้อมูล มีขนแข็งคล้ายหนามตามขอบใบและเส้นใบด้านบน ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด ยาว
เพิ่มเติมที่ ชมพูเชียงดาว, สกุล) 2.5-5 ม. ก้านช่อยาวได้ถึง 1 ม. ช่อย่อยมี 12-13 ช่อ ใบประดับและใบประดับย่อย
เป็นกาบซ้อนกันหนาแน่น ดอกเพศผู้และดอกสมบูรณ์เพศคล้ายกัน ก้านดอกยาว
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ดอยเชียงดาว และดอยอินทนนท์ 1-6 ซม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบ ยาวประมาณ 2 ซม. กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว
จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตามเขาหินปูนหรือป่าดิบเขา ความสูง 1800-2500 เมตร ประมาณ 6 ซม. ปลายแยก 3 แฉก แข็ง เกสรเพศผู้ 22-27 อัน ผลรูปรี ยาว 7-9 ซม.
ปลายเป็นจะงอย มีเกล็ดสีน�้าตาลหนาแน่น เนื้อในกะลาสีขาว
เอกสารอ้างอิง
Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 235-237. พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ยะลา นราธิวาส ขึ้นตาม
ที่ลาดชันหรือสันเขาในป่าดิบชื้น ความสูง 200-800 เมตร ชนเผ่าซาไกใช้ใบมุงหลังคา
ทนกว่าใบจาก เนื้อในเมล็ดกินได้คล้ายจาก
สกุล Eugeissona Griff. อยู่วงศ์ย่อย Eugeissoneae มี 6 ชนิด พบที่คาบสมุทรมลายู
และบอร์เนียว ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “eu” ดี และ “geisson”
หลังคา หมายถึงใบใช้ทำาหลังคาได้ดี
เอกสารอ้างอิง
จันทร์เชียงดาว: ใบเรียงเป็นวงรอบ แฉกลึกแบบขนนก ดอกออกเดี่ยว ๆ เป็นกระจุกตามซอกใบรอบข้อ กลีบดอก Barfod, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol.
มีต่อมขนหนาแน่น ปลายงุ้มเป็นหมวกงอเข้า (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่; ภาพซ้าย - SSi, ภาพขวา - RP) 11(3): 414-415.
114
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 114 3/1/16 5:22 PM