Page 139 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 139

จิงจ้อแดง
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                        4.5 ซม. 3 กลีบในรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 4 ซม. ดอกรูประฆัง สีขาว ยาว
                                                                        7.5-9 ซม. มี 5 กลีบ ปลายกลีบรูปสามเหลี่ยม ปลายเรียวแหลม เกสรเพศผู้ 5 อัน
                                                                        จุดติดบนหลอดกลีบมีขนสั้นนุ่ม เหนือจุดติดมีเกล็ดรูปไข่กลับยาวประมาณ 5 มม.
                                                                        ก้านชูอับเรณูยาว 2-2.6 ซม. อับเรณูยาว 7-9 มม. บิดเวียน จานฐานดอกเป็นวง
                                                                        รังไข่มี 4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาว 2.7-3 ซม. ยอดเกสรจัก 2 พู ผลแยกเป็น 4
                                                                        กระเปาะ บางกระเปาะฝ่อ รูปไข่กลับ ยาว 1.5-1.7 ซม. ผนังบางใสครึ่งบน แต่ละ
                                                                        กระเปาะมีเมล็ดเดียว รูปไข่ ยาว 6-7 มม. มีขั้วสีเหลืองที่โคน
                      จิกเล: ใบเรียงเวียนหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง ไร้ก้าน ช่อดอกออกตามปลายกิ่ง ผลขนาดใหญ่ โคนกว้างเป็นเหลี่ยม
                    ปลายเรียวจรดกลีบเลี้ยงที่ขยาย (ภาพ: cultivated - RP)   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่ไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี
                                                                        ขึ้นบนเขาหินปูนในป่าเบญจพรรณ ความสูงประมาณ 200 เมตร
                                                                           สกุล Remirema Kerr มีชนิดเดียว และเป็นสกุลพืชถิ่นเดียวของไทย คล้ายสกุล
                                                                           Operculina ที่ผลมีผนังเชื่อมติดกัน และไม่มีเกล็ดบริเวณเหนือจุดติดของเกสรเพศผูู้
                                                                           ซึ่งคล้ายกับสกุล Lepistemon และ Paralepistemon

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 455-457.




















                                                                          จิงจ้อเขาขาด: ใบรูปไข่กว้าง โคนรูปหัวใจ ปลายกลีบดอกรูปสามเหลี่ยม ปลายเรียวแหลม กลีบเลี้ยงขยายในผล
                                                                        ผลแยกเป็น 4 กระเปาะ บางกระเปาะฝ่อ ผนังบางใสครึ่งบน (ภาพ: ไทรโยค กาญจนบุรี; ภาพดอก - RP, ภาพผล - PK)
                                                                        จิงจ้อแดง
                                                                        Ipomoea hederifolia L.
                                                                        วงศ์ Convolvulaceae
                      จิกสวน: ใบรูปไข่กลับ หรือแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลมยาว แผ่นใบค่อนข้างบาง ขอบจักฟันเลื่อย ช่อดอกแบบ  ไม้เถาล้มลุก ใบรูปไข่กว้าง เรียบหรือจักเป็นพูตื้น ๆ 3 พู ยาว 3-10 ซม.
                    ช่อกระจะ ห้อยลง ผลรูปรี เป็นเหลี่ยมมน (ภาพ: อัมพวา สมุทรสาคร - MP)
                                                                        ปลายแหลมยาว โคนรูปหัวใจ เส้นโคนใบ 1-2 คู่ ก้านใบยาว 3-12 ซม. ก้านช่อดอก
                                                                        ยาว 3-20 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 5-7 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยงรูปรี
                                                                        ยาว 2-2.5 มม. ใต้ปลายกลีบมีรยางค์แข็ง ยาว 3-4 มม. ติดทน ดอกรูปแตร สีแดง
                                                                        หลอดกลีบดอกยาว 3-4.5 ซม. ปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง
                                                                        2-2.5 ซม. เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย
                                                                        ยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 มม. เกลี้ยง เมล็ดยาว
                                                                        ประมาณ 4 มม. สีด�า มีขนสั้นนุ่ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักบุ้ง, สกุล)
                                                                           มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเขตร้อน เป็นไม้ประดับ หรือขึ้นเป็นวัชพืช ความสูงถึง
                                                                        ประมาณ 1300 เมตร ดอกสีแดงคล้ายกับคอนสวรรค์ I. quamoclit L. ที่ใบเป็น
                                                                        ใบประกอบ แฉกรูปเส้นด้ายจ�านวนมาก

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 414-415.

                      จิกใหญ่: ใบรูปใบหอกกลับ ปลายมีติ่งแหลม ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ห้อยลง ดอกไร้ก้าน ฐานดอกเป็นปีกกว้าง
                    (ภาพ: สบเมย ตาก - MP)
                    จิงจ้อเขาขาด
                    Remirema bracteata Kerr
                    วงศ์ Convolvulaceae
                       ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 10 ม. น�้ายางสีขาว ใบรูปไข่กว้าง ยาว 9.5-1.5 ซม.
                    ปลายแหลมยาว โคนรูปหัวใจ ก้านใบยาว 3.5-8.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                    ยาว 11-24 ซม. มี 2-4 ดอก ใบประดับรูปไข่กว้าง ยาวได้ถึง 3.3 ซม. ติดทน   จิงจ้อแดง: ใบเรียบหรือจักเป็น 3 พู ช่อดอกแบบช่อกระจุก ปลายกลีบเลี้ยงมีรยางค์แข็ง ติดทน เกสรเพศผู้และ
                    ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบเลี้ยงขยายในผล คู่นอกรูปไข่กลับแคบ ๆ ยาวประมาณ   เพศเมียยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ผลเกลี้ยง (ภาพซ้าย: แม่สอด ตาก - PK; ภาพขวา: ปาย แม่ฮ่องสอน - SSi)

                                                                                                                     119






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   119                                                                 3/1/16   5:23 PM
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144