Page 143 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 143
แจง เอกสารอ้างอิง สารานุกรมพืชในประเทศไทย ชงโค
Maerua siamensis (Kurz) Pax Hou, D., (1970). Rhizophoraceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 13.
Qin, H. and D.E. Boufford. (2007). Rhizophoraceae. In Flora of China Vol. 13: 298.
วงศ์ Capparaceae
ชื่อพ้อง Niebuhria siamensis Kurz
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงไม่เกิน 10 ม. มีเกล็ดหุ้มยอด ใบประกอบมี 3 ใบย่อย
ก้านใบยาว 1.5-6.5 ซม. ใบย่อยรูปไข่กลับ รูปขอบขนาน หรือรูปแถบ ยาว 2-12 ซม.
ปลายกลม เว้าตื้น ๆ หรือมีติ่ง เกือบไร้ก้าน ช่อดอกคล้ายช่อเชิงหลั่น ออกสั้น ๆ
ที่ปลายกิ่งหรือตามซอกใบ ก้านดอกยาว 1.5-5.5 ซม. ใบประดับรูปแถบขนาดเล็ก
กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 0.7-1 ซม. ติดทน ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้
8-12 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 1-1.5 ซม. อับเรณูรูปขอบขนาน ยาว 1.5-2 มม. ปลาย
มีติ่ง ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 1.5-2 ซม. รังไข่ติดบนก้านชูเกสรเพศเมีย (gynophore)
ที่ยาวเท่า ๆ ก้านชูอับเรณู ผลมีเนื้อหลายเมล็ด รูปรีกว้างเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง เฉียงพร้านางแอ: ช่อดอกแบบช่อกระจุกซ้อนสั้น ๆ ออกตามซอกใบ กลีบดอกแยกจรดโคน สีขาวอมเขียว ปลายเว้าตื้น
2-2.5 ซม. ผิวขรุขระ ก้านผลยาว 4.5-7.5 ซม. เมล็ดรูปไต ขอบแหว่ง ผลสดชุ่มน�้า สุกสีแดง (ภาพ: ศรีสะเกษ - SSi)
พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาคจนถึงภาคใต้ตอนบน ขึ้นตามป่า ชงโค, สกุล
เบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง หรือตามป่าโปร่ง โดยเฉพาะเขาหินปูนเตืี้ย ๆ ความสูง Bauhinia L.
ถึงประมาณ 400 เมตร ใบเขียวตลอดปี ใบและดอกอ่อนกินเป็นผักดองคล้ายกุ่ม
วงศ์ Fabaceae
สกุล Maerua Forssk. มีประมาณ 90 ชนิด ส่วนใหญ่พบในแอฟริกาที่แห้งแล้ง ไม้ต้นหรือไม้พุ่ม ไม่มีมือจับ หูใบร่วงเร็ว ใบประกอบมีใบเดียว เรียงเวียน เรียบ
ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษาอาหรับ “maeru” หมายถึงดวงอาทิตย์ หรือแฉกลึก ช่อดอกแบบช่อกระจะ ช่อเชิงหลั่น หรือช่อแยกแขนง ใบประดับและ
น่าจะหมายถึงเป็นพืชที่ชอบแสงแดดจัด หลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพร ใบประดับย่อยขนาดเล็ก ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงแยกเป็น 2 ส่วน รูปใบพาย แต่ละ
ส่วนปลายจักตื้น ๆ 2 และ 3 จัก กลีบดอก 5 กลีบ มีก้านกลีบ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์
เอกสารอ้างอิง
Chayamarit, K. (1991). Capparaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 266-268. มี 1-10 อัน รังไข่ส่วนมากมีก้าน มี 1 ช่อง ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ฝักแห้งแตก
หรือไม่แตก
สกุล Bauhinia อยู่ภายใต้เผ่า Cercideae วงศ์ย่อย Caesalpinioideae ปัจจุบัน
ถูกจำาแนกเป็นหลายสกุล สกุลที่พบในไทยได้แก่ Phanera, Lasiobema และ
Lysiphyllum ลักษณะสำาคัญที่ใช้จำาแนกคือ วิสัยที่เป็นไม้ต้นหรือไม้พุ่มไม่มีมือจับ
กับไม้เถามีมือจับ กลีบเลี้ยงแยกข้างเดียวรูปใบพายกับกลีบเลี้ยงแฉกลึก 3-5 แฉก
หรือเรียบ และจำานวนเกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ ทำาให้สกุล Bauhinia เหลือประมาณ
150 ชนิด จากเดิมที่มีประมาณ 300 ชนิด ส่วนมากพบในเขตร้อน ในไทยมี
ประมาณ 15 ชนิด รวมที่นำาเข้ามาเป็นไม้ประดับ ชื่อสกุลตั้งตามสองพี่น้องตระกูล
Bauhin คือ Jean Bauhin (1541-1613) และ Gaspard Bauhin (1560-1624) นัก
แจง: ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ช่อดอกคล้ายช่อเชิงหลั่น ออกสั้น ๆ ก้านดอกยาว กลีบเลี้ยงติดทน ไม่มีกลีบดอก พฤกษศาสตร์ชาวสวิตเซอร์แลนด์
ก้านชูเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ ก้านชูอับเรณู ผลผิวขรุขระ ก้านผลยาว (ภาพ: ถ�้าเพชรถ�้าทอง นครสวรรค์ - RP)
เฉียงพร้านางแอ ชงโค
Carallia brachiata (Lour.) Merr. Bauhinia purpurea L.
วงศ์ Rhizophoraceae ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบรูปเกือบกลม กว้างและยาวประมาณ 12 ซม. ปลายแฉก
ชื่อพ้อง Diatoma brachiata Lour. ลึกเกือบกึ่งหนึ่ง แผ่นใบด้านล่างมีขนประปราย เส้นโคนใบข้างละ 4-6 เส้น ก้านใบ
ไม้ต้น ส่วนมากสูงได้ถึง 15 ม. หรือมากกว่า หูใบเชื่อมติดกัน บิดเวียน รูปใบหอก ยาว 2-3 ซม. ช่อดอกมี 6-10 ดอก ก้านดอกหนา ยาว 1-1.5 ซม. ใบประดับย่อย
ยาว 1-2.5 ซม. ร่วงเร็ว ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ ติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก ตาดอกรูปกระบอง มีสันนูน 4-5 สัน ยาว 3-4 ซม.
ยาว 5-15 ซม. ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกแบบ มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น ฐานดอกยาว 0.7-1.2 ซม. ดอกสีชมพูหรือม่วง กลีบรูปใบหอก
ช่อกระจุกซ้อนสั้น ๆ ออกตามซอกใบ ยาว 1-6 ซม. มักมีชันใส ก้านดอกสั้นมากหรือ ยาว 3-5 ซม. ก้านกลีบยาว 0.5-1 ซม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาวเท่า ๆ
ไร้ก้าน ใบประดับ 2-3 อัน ขนาดเล็ก เชื่อมติดกัน กลีบเลี้ยง 6-7 กลีบ รูปสามเหลี่ยม กลีบดอก โคนเชื่อมติดกัน 3-4 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 5-6 อัน รูปเส้นด้าย ยาว
ยาว 3-4 มม. ดอกสีขาวอมเขียว กลีบเท่าจ�านวนกลีบเลี้ยง แยกจรดโคน ยาว 0.6-1 ซม. รังไข่มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียโค้งงอ ยาวเท่า ๆ
ประมาณ 1.5 มม. ปลายเว้าตื้น ขอบแหว่ง มีก้านสั้น ๆ เกสรเพศผู้ 12-14 อัน เกสรเพศผู้ ฝักรูปแถบ ยาว 20-30 ซม. มี 10-15 เมล็ด
ติดบนจานฐานดอก ยาวไม่เท่ากัน อันสั้นติดตรงข้ามกลีบเลี้ยง อันยาวติดตรงข้าม เข้าใจว่ามีถิ่นก�าเนิดในเอเชียเขตร้อน ตัวอย่างพรรณไม้ต้นแบบเก็บจาก
กลีบดอก ยาว 2-3 มม. ติดทน จานฐานดอกเป็นวง รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมีย ฟิลิปปินส์ ในไทยพบปลูกตามสองข้างถนนและสวนสาธารณะ พบน้อยที่กระจาย
ยาวประมาณ 2 มม. ยอดเกสรรูปจาน จัก 4-8 พู ผลสดชุ่มน�้า เส้นผ่านศูนย์กลาง ในธรรมชาติ ส่วนชงโคที่ปลูกเป็นไม้ประดับและไม่ติดผล เกสรเพศผู้ 5 อัน เป็นหมัน
5-7 มม. สุกสีแดง มี 1-5 เม็ด รูปไต ซึ่งเป็นดอกไม้ประจ�าเกาะฮ่องกง ชื่อสามัญคือ Hong Kong orchid tree ชื่อ
พบที่มาดากัสการ์ อินเดีย ภูฏาน ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน วิทยาศาสตร์คือ Bauhinia x blakeana Dunn เป็นลูกผสมของ B. purpurea L.
และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลียตอนบน และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย และ B. variegata L. ค�าระบุชนิดตั้งตาม Sir Henry Arthur Blake ผู้ปกครอง
พบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าพรุ และป่าดิบชื้น ความสูงถึง เกาะฮ่องกงช่วงปี ค.ศ. 1989-1903
ประมาณ 1300 เมตร ใบและเปลือกมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย และต้านอนุมูลอิสระ
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
สกุล Carallia Roxb. มีประมาณ 10 ชนิด พบที่มาดากัสการ์ เอเชียเขตร้อน In Flora of Thailand Vol. 4(1): 4-45.
ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 3 ชนิด อีก 2 ชนิด คือ ชาทองเขา Mackinder, B.A. and R. Clark. (2014). A synopsis of the Asian and Australasian
C. euryoides Ridl. และคอแห้งเขา C. suffruticosa Ridl. พบเฉพาะทางภาคใต้ genus Phanera Lour. (Cercideae: Caesalpinioideae: Leguminosae) including
ตอนล่าง ชื่อสกุลมาจากชื่อพื้นเมืองที่ใช้เรียกไม้ต้นนี้ในภาษาอินเดีย “karalii” 19 new combinations. Phytotaxa 166(1): 49-68.
123
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 123 3/1/16 5:24 PM