Page 142 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 142

จีง�้ำ
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     บิดเวียนในตาดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดตรงข้ามกลีบดอก โคนก้านชูอับเรณูแบน
                                                                     อับเรณูรูปแถบ เกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ยอดเกสรเพศเมีย
                                                                     ติดด้านในของแฉก มีต่อม ผลแห้งแตกตามขวาง มีกลีบเลี้ยงหุ้ม มีเมล็ดเดียว มีปีก

                                                                       สกุล Plumbago มีประมาณ 12 ชนิด พบทั่วไปในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทย
                                                                       มี 2 ชนิด และพบเป็นไม้ประดับ 1 ชนิด คือ เจตมูลเพลิงฝรั่งหรือพยับหมอก
                                                                       P. auriculata Lam. มีถิ่นกำาเนิดในแอฟริกาใต้ ช่อดอกไม่มีต่อม ดอกสีฟ้าอม
                                                                       ม่วงอ่อน ๆ หรือสีขาว ชื่อสกุลเป็นภาษาละติน “plumbago” แปลว่าตะกั่ว
                                                                       เนื่องจากพืชกลุ่มนี้สามารถใช้รักษาโรคที่เกิดจากพิษตะกั่วได้

                                                                     เจตมูลเพลิงขาว
                                                                     Plumbago zeylanica L.
                                                                       ไม้พุ่มเตี้ยหรือไม้ล้มลุก สูง 1-3 ม. กิ่งมักทอดยาว ใบรูปไข่ ยาว 3-13 ซม.
                  จิงจ้อเหลือง: ใบรูปฝ่ามือ ล�าต้นและกลีบเลี้ยงคู่นอกมีขนหยาบยาว ดอกรูปแตร สีเหลือง ก้านดอกปลายหนา
                (ภาพ: เขาแหลม กาญจนบุรี - PK)                        ปลายมีติ่งแหลม ช่อดอกยาวได้ถึง 15 ซม. ก้านช่อยาว 0.5-2 ซม. แกนกลางและ
                                                                     ก้านช่อดอกมีต่อมไร้ก้าน ใบประดับรูปไข่ ยาว 4-8 มม. ใบประดับย่อยรูปแถบ
                จีง้ำา                                               ยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงยาว 1-1.3 ซม. มีขนต่อมหนาแน่น ดอกสีขาวหรือ
                Scyphiphora hydrophyllacea C. F. Gaertn.             สีฟ้าอ่อน หลอดกลีบดอกยาว 1.8-2.2 ซม. กลีบรูปไข่กลับ รูปขอบขนาน หรือ
                วงศ์ Rubiaceae                                       รูปใบหอก ยาวประมาณ 7 มม. ปลายแหลมหรือเป็นติ่ง อับเรณูสีน�้าเงิน ยาว
                                                                     ประมาณ 2 มม. รังไข่รูปรี มี 5 เหลี่ยม ก้านเกสรเพศเมียเกลี้ยง ผลรูปขอบขนาน
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 6 ม. บางครั้งมีรากค�้ายัน กิ่งอ่อนและก้านใบมักมี  ยาว 7-8 มม. เมล็ดเรียวยาว ยาวประมาณ 7 มม. สีน�้าตาลแดง
                สีแดงแต้ม ตามีชันเป็นเมือกสีเหลือง หูใบร่วมยาวประมาณ 3 มม. ติดทน ขอบมีขน   พบในเขตร้อน ในไทยพบทุกภาค ส่วนมากพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก
                ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-10 ซม.   และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ความสูงระดับต�่า ๆ หรือเป็นไม้ประดับ
                ปลายกลมหรือมน แผ่นใบค่อนข้างหนา เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน ก้านใบยาว 0.5-2 ซม.   มีสรรพคุณทางสมุนไพรคล้ายเจตมูลเพลิงแดง โดยเฉพาะราก แต่จะมีฤทธิ์อ่อนกว่า
                ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตามซอกใบ ยาว 1.5-3 ซม. ดอกเกือบไร้ก้าน หลอด
                กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2 มม. ปลายแยกเป็น 4 แฉกตื้น ๆ ไม่ชัดเจน ติดทน   เจตมูลเพลิงแดง
                ดอกรูปแตร สีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีชมพูอ่อน บิดเวียนในตาดอก หลอดกลีบดอก
                ยาว 3-5 มม. มี 4 กลีบ รูปลิ้น ยาว 2-3 มม. พับงอกลับ เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดบน  Plumbago indica L.
                ปากหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น ก้านเกสรเพศเมียยาว 5-7 มม. ยอดเกสรแยก   ไม้ล้มลุก สูง 0.5-2 ม. กิ่งทอดยาว ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 3-13 ซม. ช่อดอก
                2 พู ยาวประมาณ 3 มม. ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ยาว 0.8-1 ซม. มี 6-10 สัน แห้งแข็ง   ยาว 20-90 ซม. ก้านช่อยาว 1-3 ซม. แกนกลางช่อดอกไม่มีต่อม ใบประดับและ
                ลอยน�้าได้ มี 2-4 เมล็ด                              ใบประดับย่อยรูปไข่ ยาว 2-3 มม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 8-9 มม. มีขนต่อม
                                                                     กระจาย ดอกสีแดงหรืออมม่วง หลอดกลีบดอกยาว 2-2.5 ซม. กลีบรูปไข่กลับ
                   พบที่มาดากัสการ์ อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
                ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบตามชายฝั่งทะเล และป่าโกงกาง   ยาวประมาณ 1.2 ซม. ปลายกลีบกลม ปลายเป็นติ่งหนาม อับเรณูสีน�้าเงิน ยาว
                                                                     ประมาณ 2 มม. ก้านเกสรเพศเมียมีทั้งแบบสั้นและแบบยาว แบบสั้นไม่ยื่นพ้น
                ต้นที่ไม่มีดอกและผลดูคล้ายกับพืชในสกุลโปรง Ceriops (Rhizophoraceae) ที่  ปากหลอดกลีบดอก โคนมีขนยาว ยอดเกสรเพศเมียมีต่อม มักไม่ติดผล
                มีหูใบเรียวยาวกว่า และเปลือกมีช่องอากาศ
                                                                       พบในเขตร้อน ในไทยพบกระจายห่างๆ เกือบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ความสูง
                   สกุล Scyphiphora C. F. Gaertn. มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “skyphos”   ระดับต�่า ๆ หรือพบเป็นไม้ประดับ รากมีสรรพคุณช่วยเจริญอาหาร เป็นยาปฏิชีวนะ
                ถ้วยหรือกระป๋อง และ “phero” นำาไป ตามลักษณะผลรูปรีเป็นแนวสัน  ใช้รักษาโรคผิวหนังด่าง
                  เอกสารอ้างอิง                                       เอกสารอ้างอิง
                   Chen, T. and C.M. Taylor. (2011). Rubiaceae (Scyphiphora). In Flora of China   Pen, T.H. and R.V. Kamelin. (1996). Plumbaginaceae. In Flora of China Vol.
                      Vol. 19: 323.                                       15: 190-191.
                   Puff, C., K. Chayamarit and V. Chamchumroon. (2005). Rubiaceae of Thailand.
                      Forest Herbarium. Bangkok.












                                                                      เจตมูลเพลิงขาว: ใบรูปไข่ เรียงเวียน ปลายเป็นติ่งแหลม ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด กลีบเลี้ยงมีขนต่อมหนาแน่น
                                                                     ดอกสีขาว (ภาพ: ภูพาน สกลนคร - PK)
                  จีง�้า: ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน ช่อดอกแบบช่อกระจุก กลีบดอกรูปลิ้น พับงอกลับ กลีบเลี้ยง
                เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกไม่ชัดเจน ติดทน ผลมีสันนูน (ภาพดอก: ตรัง - NP; ภาพผล: ทุ่งทะเล กระบี่ - RP)
                เจตมูลเพลิง, สกุล
                Plumbago L.
                วงศ์ Plumbaginaceae
                   ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อกระจะคล้ายช่อเชิงลด
                ใบประดับและใบประดับย่อยบาง กลีบเลี้ยงเป็นหลอด เป็นริ้ว มีต่อม ต่อมมีก้าน    เจตมูลเพลิงแดง: แกนกลางช่อดอกไม่มีต่อม ดอกสีแดง (ภาพ: ป่าละอู ประจวบคีรีขันธ์ - RP); เจตมูลเพลิงฝรั่ง:
                ปลายแยก 5 กลีบขนาดเล็ก ดอกรูปดอกเข็ม มี 5 กลีบ หลอดกลีบยาวกว่ากลีบดอก   แกนช่อดอกมีขนสั้นนุ่ม ไม่มีต่อม ดอกสีฟ้าอมม่วงอ่อน ๆ (ภาพ: cultivated - RP)

                122






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   122                                                                 3/1/16   5:24 PM
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147