Page 147 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 147
ชมพูเชียงดาว สารานุกรมพืชในประเทศไทย ชมพูพำน
Pedicularis siamensis P. C. Tsoong
ไม้ล้มลุก สูง 40-60 ซม. ล�าต้นมีขน ใบเรียงเป็นวง 3-4 ใบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน
ยาว 1.5-4.5 ซม. จักลึกแบบขนนก มีประมาณ 5-12 คู่ ขอบจักซี่ฟัน มีขนบาง
และแห้งทั้งสองด้าน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาวได้ถึง 40 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว
0.8-1 ซม. เป็นสันตื้น ๆ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ยาวประมาณ 3 มม. รูปแถบ 1 กลีบ
รูปใบหอกกลับ 4 กลีบ ขอบจัก ดอกสีชมพูถึงม่วงเข้ม หลอดกลีบดอกยาวประมาณ
2 ซม. กลีบปากบนรูปหมวก ยาวประมาณ 1 ซม. งุ้มเข้า กลีบปากล่างบานออก
มี 3 กลีบ ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบกลางกลม ยาวประมาณ 5 มม. กลีบข้างรูปรี ชมพู่นก: ใบเรียงรอบข้อ โคนเว้าตื้น ๆ ไม่มีเส้นขอบใน ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกตามกิ่ง (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - MP)
ยาวประมาณ 6 มม. เกสรเพศผู้เกลี้ยง โคนอับเรณูแหลม ผลรูปไข่ ยาว 0.8-1.2 ซม.
ปลายมีติ่งแหลม เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตาม
เขาหินปูนที่โล่ง ความสูง 1800-2100 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 235-237.
ชมพู่น�้า: ช่อดอกออกตามปลายกิ่งหรือซอกใบ เกสรเพศผู้สีชมพูอมแดง หรือเหลืองอมเขียว กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
โคนหนา ขอบบาง ผลกลม ๆ (ภาพซ้าย: น�้าตกพลิ้ว จันทบุรี - TP; ภาพขวา: น�้าตกขาอ่อน ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
ชมพูเชียงดาว: ใบจักลึกแบบขนนก ช่อดอกแบบช่อกระจะ กลีบดอกรูปปากเปิด กลีบปากบนรูปหมวก ชมพูพาน
(ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi) Wightia speciosissima (D. Don) Merr.
ชมพู่นก วงศ์ Paulowniaceae
Syzygium formosum (Wall.) Masam. ชื่อพ้อง Gmelina speciosissima D. Don
วงศ์ Myrtaceae ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อิงอาศัย สูงได้ถึง 15 ม. มีเกล็ดและขนรูปดาวหนาแน่นตาม
ชื่อพ้อง Eugenia formosa Wall. แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือ
รูปขอบขนาน ยาว 10-30 ซม. แผ่นใบหนา ก้านใบยาวได้ถึง 2 ซม. ช่อดอกแบบ
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบเรียงรอบข้อ รูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ยาว 10-20 ซม. ก้านช่อและก้านดอกสั้น ใบประดับย่อย
ยาว 20-45 ซม. โคนเว้าตื้น ๆ ไม่มีเส้นขอบใน ก้านใบยาว 1-3 มม. ช่อดอกแบบ ขนาดเล็ก 2 อัน กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาวประมาณ 8 มม. ปลายแยก 3-4 แฉกตื้น ๆ
ช่อเชิงหลั่น ออกสั้น ๆ ตามกิ่งที่ใบหลุดร่วง มี 4-6 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-2.5 ซม. ดอกสีชมพู ยาว 2.5-3.5 ซม. กลีบรูปปากเปิด หลอดกลีบดอกสั้น กลีบปากบน
ฐานดอกยาว 1.5-2 ซม. ก้านดอกเทียมยาว 5-6 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กว้างประมาณ ยาวประมาณ 8 มม. แยก 2 แฉก กลีบปากล่าง 3 กลีบ ยาว 6-7 มม. เกสรเพศผู้
1 ซม. ดอกสีชมพู กลีบดอกมี 4 กลีบ ขนาด 0.9-1.2 ซม. มีต่อมหนาแน่น เกสรเพศผู้ 2 คู่ยาวไม่เท่ากัน อับเรณูรูปลูกศร ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก รังไข่มี 2 ช่อง มีริ้ว
วงนอกยาวประมาณ 2 ซม. รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 3.5 ซม. ก้านเกสรเพศเมียสั้นกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ผลแห้งแตกกลางพู รูปขอบขนาน
ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หว้า, สกุล) ยาว 2.5-4 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก รูปแถบ ยาวประมาณ 7 มม. มีปีกบาง แคบ ๆ
พบที่อินเดีย บังกลาเทศ พม่า และเวียดนาม ในไทยพบกระจายทุกภาค ขึ้นตาม พบที่เนปาล อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค
ริมล�าธารในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร ขึ้นตามคบไม้ หรือก้อนหิน ในป่าดิบเขา ความสูง 1300-2000 เมตร
ชมพู่น้ำา สกุล Wightia เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Scrophulariaceae มีเพียง 2 ชนิด อีกชนิดคือ
Syzygium siamense (Craib) Chantar. & J. Parn. ศรีฮาลา W. borneensis Hook. f. พบทางภาคใต้ตอนล่าง และภูมิภาคมาเลเซีย
ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวบริติช Robert Wight (1796-1872)
ชื่อพ้อง Eugenia siamensis Craib
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบเรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ เอกสารอ้างอิง
Hong, D., H. Yang, C.L. Jin, M.A. Fischer, N.H. Holmgren and R.R. Mill.
ยาว 9-28 ซม. โคนกลมหรือเว้าตื้น มีเส้นขอบใน 1 เส้น ก้านใบยาว 3.5-8 มม. (1998). Scrophulariaceae. In Flora of China Vol. 18: 10-11.
ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกสั้น ๆ ตามปลายกิ่งหรือซอกใบใกล้ปลายกิ่ง มี 2-6 ดอก Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 142-143.
ก้านดอกยาว 3-5 มม. ฐานดอกยาว 1-1.7 ซม. ไม่มีต่อม ก้านดอกเทียมยาว
5-6 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ยาว 3-6.5 มม. โคนหนา ขอบบาง ดอกสีชมพู แดง หรือ
เหลือง มี 4 กลีบ ขนาด 1.4-1.7 ซม. โคนหนา ขอบบาง มีต่อมหนาแน่น เกสรเพศผู้
วงนอกยาว 2-3 ซม. รังไข่มี 2 ช่อง ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-2.7 ซม. (ดูข้อมูล
เพิ่มเติมที่ หว้า, สกุล)
พบที่พม่าและคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค โดยเฉพาะทางภาคใต้ ส่วน
มากขึ้นริมล�าธารในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ
เอกสารอ้างอิง
Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol.
7(4): 899. ชมพูพาน: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ กลีบดอกรูปปากเปิด (ภาพ: เชียงใหม่ - RP)
127
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 127 3/1/16 5:25 PM