Page 151 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 151
ชะมดต้น สารานุกรมพืชในประเทศไทย ชันหอย
Abelmoschus moschatus Medik.
วงศ์ Malvaceae
ชื่อพ้อง Hibiscus abelmoschus L.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2 ม. ส่วนต่างๆ มีขนหยาบกระจาย หูใบรูปเส้นด้าย ยาว
7-8 มม. ใบส่วนมากรูปฝ่ามือ 3-7 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-15 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย
ก้านใบยาว 7-15 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกยาว 2-3 ซม. ริ้วประดับ 6-12 อัน
รูปแถบ ยาว 0.8-1.3 ซม. โค้งเข้า กลีบเลี้ยงยาว 2-3 ซม. ดอกสีเหลืองนวล โคนกลีบ
ด้านในสีม่วงอมน�้าตาลทั้งด้านนอกและด้านใน ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง
7-12 ซม. เส้าเกสรยาวประมาณ 2.5 ซม. รังไข่มีขนหนาแน่น ผลรูปไข่หรือแกม
รูปขอบขนาน ยาว 5-6 ซม. ปลายแหลม เมล็ดสีน�้าตาลด�า รูปคล้ายไต มีปุ่มเล็ก ๆ
เป็นร่างแหกระจาย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระเจี๊ยบมอญ, สกุล)
ชะมวงกวาง: ใบเกือบไร้ก้าน ใบประดับเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ติดทน ดอกสีขาวอมชมพู ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน
พบที่อินเดีย จีน พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง เป็น 5 มัด ติดตรงข้ามกลีบดอก ก้านเกสรเพศเมีย 5 อัน ติดทน ผลแตกอ้าจรดโคน มี 5 ซีก (ภาพ: ตรัง - RP)
ริมล�าธาร ชายป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง 200-1000 เมตร
แยกเป็น subsp. biakensis (Hochr.) Borss. Waalk. พบที่นิวกินี ส่วน subsp. ชะลูดช้าง
tuberosus (Span.) Borss. Waalk. เป็นชื่อพ้องของโสมชบา A. sagittifolius Marsdenia floribunda (Brongn.) Schltr.
(Kurz) Merr. โคนกลีบดอกไม่มีสีเข้ม เมล็ดมีกลิ่นแรง ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต วงศ์ Apocynaceae
น�้าหอม มีสรรพคุณขับปัสสาวะ แก้ไข้ ลดการอักเสบ และควบคุมฮอร์โมนเพศหญิง ชื่อพ้อง Stephanotis floribunda Brongn., S. jasminoides hort.
เอกสารอ้างอิง ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 5 ม. น�้ายางสีขาว ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่หรือรูปขอบขนาน
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol. ยาว 5-15 ซม. แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 0.8-2.5 ซม. โคนด้านบนมีต่อม 1 คูู่ ช่อดอก
12: 285. แบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม ก้านช่อยาว 0.5-1.8 ซม. ก้านดอกยาวกว่าก้านช่อ
เล็กน้อย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ขนาดเล็ก ดอกสีขาว หลอดกลีบดอกเรียวแคบ ยาว
2.5-3 ซม. ปากหลอดมีขน ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปรีกว้าง ยาวเท่า ๆ หลอดกลีบ
เกสรเพศผู้ 5 อัน เชื่อมติดกันเป็นหลอด ติดที่โคนหลอดกลีบดอก ปลายอับเรณู
มีรยางค์ ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก กะบังเป็นเกล็ด มี 5 อัน ผลแตกแนวเดียว
รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 10-15 ซม. ผนังหนา มีนวล เมล็ดจ�านวนมาก แบน
มีปีกแคบ ๆ
มีถิ่นก�าเนิดที่มาดากัสการ์ เป็นไม้ประดับ ดอกมีกลิ่นหอมแรงตอนกลางคืน
ชะมดต้น: ริ้วประดับรูปแถบ มีขนหยาบ ดอกสีเหลืองนวล โคนกลีบด้านในสีม่วงอมน�้าตาลเข้ม กลีบเลี้ยงคล้ายกาบ
แยกด้านเดียว ยาวกว่าริ้วประดับ (ภาพ: คลองลาน ก�าแพงเพชร - RP) สกุล Marsdenia R. Br. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Asclepiadaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
ชะมวงกวาง Asclepiadoideae มีประมาณ 100 ชนิด พบในอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย ในไทย
มีพืชพื้นเมืองเกือบ 10 ชนิด เป็นไม้ประดับชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
Ploiarium alternifolium (Vahl) Melch. ชาวไอริช Willium Marsden (1754-1836)
วงศ์ Bonnetiaceae
ชื่อพ้อง Hypericum alternifolium Vahl เอกสารอ้างอิง
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ส่วนมากสูงไม่เกิน 10 ม. ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน รูปใบหอก Press, Honolulu, Hawai`i.
หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 7-10 ซม. โคนตัดจรดกิ่ง ก้านใบสั้นมากเกือบไร้ก้าน
แผ่นใบด้านบนเป็นมันวาว ขอบจักฟันเลื่อย ใบประดับและใบประดับย่อยมีอย่างละ
2 ใบ เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ติดทน ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ตาดอกบิดเวียน
กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่กว้าง ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 5-7 มม.
ดอกมีกลิ่นหอม สีขาวอมชมพู มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 ซม. มีก้านกลีบสั้น ๆ
เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ยาวเท่า ๆ กลีบดอก ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็น 5 มัด
ติดตรงข้ามกลีบดอก ระหว่างมัดมีต่อม รังไข่มี 5 ช่อง รูปไข่ ยาว 1-1.2 ซม. เกลี้ยง
ก้านเกสรเพศเมีย 5 อัน ยาว 5-7 มม. ติดทน ผลแห้งแตก รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ชะลูดช้าง: ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม หลอดกลีบดอกเรียวแคบ ปากหลอดมีขน เกสรเพศผู้และเพศเมีย
ยาวประมาณ 2 ซม. แตกอ้าออกจรดโคน มี 5 ซีก เมล็ดจ�านวนมาก รูปแถบ ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: cultivated - RP)
ยาวประมาณ 3.5 มม. ชันหอย
พบที่กัมพูชา คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว และทางภาคใต้ของไทย Shorea macroptera Dyer
ตั้งแต่ระนองลงไป ขึ้นตามป่าเสม็ด ป่าพรุ และชายป่าดิบชื้น ส่วนมากพบที่ความสูง วงศ์ Dipterocarpaceae
ระดับต�่า ๆ ภาษามาเลย์เรียกว่า Riang Riang หรือ Reriang แปลว่า จักจั่น
ตามชื่อสามัญ Cicada tree บางครั้งพบเป็นไม้ประดับ เนื้อไม้มีความแข็งแรง และ ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. พูพอนเตี้ย ชันสีขาว มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน หูใบ แผ่นใบ
ทนทานสูง ด้านล่าง ก้านใบ และช่อดอก หูใบรูปใบหอก ยาว 5-6 มม. ใบรูปขอบขนาน รูปใบหอก
หรือรูปใบหอกกลับ ยาว 8-15 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่งสั้น ๆ เส้นแขนงใบข้างละ
สกุล Ploiarium Korth. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Theaceae และ Clusiaceae มี 3 ชนิด 12-14 เส้น ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 12 ซม. ก้านดอกยาว 2-3 มม.
ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “ploiarion ” เรือ ตามลักษณะของซีกผล กลีบเลี้ยงกว้างยาวประมาณ 2 มม. ดอกสีครีมหรือชมพู กลีบรูปใบหอก ปลายมน
ที่รูปร่างคล้ายเรือ ยาว 7-8 มม. ด้านนอกมีขนคล้ายไหม เกสรเพศผู้ 15 อัน เรียง 3 วง แกนอับเรณู
เป็นติ่ง ฐานก้านเกสรเพศเมียรูปรี มีขนสั้นหนาแน่น ผลรูปไข่กว้าง ยาว 0.8-1.5 ซม.
เอกสารอ้างอิง
Hassan, I. (2010). Bonnetiaceae. In Flora of Peninsular Malaysia. Vol. 1: 83-86. มีขนสั้นนุ่ม ปีกยาว 3 ปีก ยาว 6-12 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก ยาว 2-6 ซม. โคนเป็นติ่ง
Keng, H. (1972). Bonnetiaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 159-160. แผ่เป็นแผ่นคล้ายเกล็ด ก้านผลสั้นมาก (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พะยอม, สกุล)
131
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 131 3/1/16 5:26 PM