Page 156 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 156

ช�ำมะนำด
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   สกุล Vallaris มี 3 ชนิด ในไทยพบเป็นพืชพื้นเมืองชนิดเดียว และเป็นไม้ประดับ  หรือซอกใบ ยาวได้ถึง 75 ซม. ก้านดอกยาวได้ถึงประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ
                   อีก 1 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “vallum” กำาแพง ตามลักษณะวิสัยที่เป็น  รูปรีกว้าง ยาว 2-4 มม. ดอกสีม่วงอมแดงหรือขาว มี 4 กลีบ รูปไข่หรือรูปไข่กลับ
                   ไม้เถาเลื้อยปกคลุมคล้ายเป็นกำาแพง                 ยาว 1.5-3 มม. ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้มี 5-8 อัน ก้านชูอับเรณูสั้นมาก ผลรูปรี
                                                                     หรือรูปไข่ ยาว 1-3 ซม. สุกสีม่วงด�า มี 2 เมล็ด ยาว 1-2 ซม. มีขั้ว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
                ชำามะนาด                                             มะหวด, สกุล)
                Vallaris glabra (L.) Kuntze                            พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้
                  ชื่อพ้อง Pergularia glabra L.                      และภาคใต้ ขึ้นตามชายป่า ริมล�าธาร หรือป่าชายหาด ความสูงจนถึง 1400 เมตร
                   ไม้เถา ใบรูปรี ยาว 10-17 ซม. ปลายมีติ่งแหลม ก้านใบยาว 0.5-3 ซม.    มักพบปลูกเป็นไม้ผล เนื้อไม้แข็งและทนทาน ยอดอ่อนกินเป็นผักสดหรือใช้ปรุง
                ช่อดอกยาวได้ถึง 10 ซม. แผ่กว้าง ก้านช่อสั้น กลีบเลี้ยงบานออกหรือพับงอกลับ   อาหาร รากบดเป็นยาพอกแก้คัน
                รูปสามเหลี่ยมแคบ ๆ ยาว 4-5.5 มม. ดอกสีขาวอมเหลืองหรือเขียวอ่อน หลอด  เอกสารอ้างอิง
                กลีบดอกยาว 7-9 มม. กลีบรูปไข่ ปลายแหลม ยาวประมาณ 1 ซม. ด้านนอกมี  van Welzen, P.C. (1999). Sapindaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 213-214.
                ขนสั้นนุ่ม ก้านชูอับเรณูยาว 2-4 มม. ติดด้านประมาณจุดกึ่งกลางหลอดกลีบดอก
                อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. จานฐานดอกมีขนตามปลายจัก ก้านเกสรเพศเมีย
                รวมยอดเกสรยาวประมาณ 6 มม. มีขนสั้นนุ่ม
                   มีถิ่นก�าเนิดในชวา เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน ดอกมีกลิ่นหอม มักไม่ติดผล

                ชำามะนาดเล็ก
                Vallaris solanacea (Roth) Kuntze
                  ชื่อพ้อง Peltanthera solanacea Roth
                   ไม้เถา ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 2-15 ซม. ปลายแหลมยาว ก้านใบยาว 0.3-2 ซม.
                ช่อดอกยาว 3-10 ซม. ก้านช่อยาวประมาณ 3.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ตั้งตรง
                ยาว 3-7 มม. ดอกสีขาวอมเหลืองหรือเขียว หลอดกลีบดอกยาว 0.6-1 ซม. กลีบรูปไข่
                ปลายกลม ยาว 0.5-1 ซม. ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 2 มม.
                ติดประมาณใต้จุดกึ่งกลางหลอดกลีบดอก อับเรณูยาวประมาณ 3 มม. โคนเป็นเงี่ยง
                จานฐานดอกเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ก้านเกสรเพศเมียรวมยอดเกสรยาวประมาณ   ช�ามะเลียง: หูใบเทียมคล้ายใบติดเป็นคู่ที่โคนก้านใบ ช่อดอกออกตามกิ่ง ดอกสีม่วงอมแดง มี 4 กลีบ ผลสุกสี
                6 มม. มีขนสั้นนุ่ม ผลเป็นฝักคู่ ยาว 8-14 ซม. กว้าง 1.5-3.5 ซม. เมล็ดรูปรี แบน ๆ   ม่วงด�า (ภาพ: cultivated; ภาพหูใบ - RP, ภาพช่อดอกและผล - SSi)
                ยาวประมาณ 1 ซม. กระจุกขนยาว 3-4 ซม.                  ชิงชี่, สกุล
                   พบที่ปากีสถาน อินเดีย พม่า จีน และเวียดนาม ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้น  Capparis L.
                ภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 350 เมตร เป็นไม้ประดับ ในอินเดีย   วงศ์ Capparaceae
                เถาใช้สานตะกร้า
                                                                       ไม้พุ่ม ไม้ต้น หรือไม้เถา บางครั้งมีเกล็ดหุ้มติดที่โคนยอด ใบเรียงเวียนหรือ
                  เอกสารอ้างอิง                                      เรียงสลับระนาบเดียว มักมีหูใบเป็นหนาม หนามตรงหรือโค้ง ดอกออกเดี่ยว ๆ
                   Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 94-96.  เป็นกระจุก หรือเป็นช่อแบบช่อกระจะหรือช่อซี่ร่ม ตามซอกใบเป็นแถวด้านบน
                                                                     หรือปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เรียง 2 วง แยกจรดโคน กลีบดอก 4 กลีบ เรียง
                                                                     ซ้อนเหลื่อม แยกเป็น 2 คู่ ระหว่างกลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้จ�านวนมาก อับเรณูติด
                                                                     ที่ฐาน หันเข้า แตกตามยาว มีก้านชูเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ รังไข่มี 1 ช่อง
                                                                     ออวุลจ�านวนมาก พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ไร้ก้าน
                                                                     ผลคล้ายผลสดมีหลายเมล็ด มีเนื้อเป็นปุย

                                                                       สกุล Capparis มีประมาณ 250 ชนิด พบทั่วไปในเขตร้อน กึ่งเขตร้อน และพบ
                                                                       ประปรายในเขตอบอุ่น ในไทยมีกว่า 30 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kapparis”
                                                                       ที่ใช้เรียก C. spinosa L.

                                                                     ชิงชี่
                                                                     Capparis micracantha DC.
                                                                       ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย มีหนามตรง ยาว 2-4 มม. ใบรูปขอบขนาน รูปใบหอก
                  ช�ามะนาด: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอกปลายแหลม ปลายก้านชูอับเรณูเป็นกระเปาะ   หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. โคนมนหรือกลม แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 1-2 ซม.
                (ภาพซ้ายและขวาบน: cultivated - RP); ช�ามะนาดเล็ก: กลีบดอกปลายกลม (ภาพขวาล่าง: cultivated - RP)  ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบด้านบน มี 2-7 ดอก มีหนาม 1-4 อัน ระหว่าง
                ชำามะเลียง                                           ก้านดอกและก้านใบ ก้านดอกยาว 0.6-2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงรูปไข่แกมรูป
                                                                     ขอบขนาน ยาว 0.6-1 ซม. ขอบมีขนครุย ดอกสีขาว กลีบคู่บนมีสีเหลืองหรือมี
                Lepisanthes fruticosa (Roxb.) Leenh.                 สีม่วงแซม รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 1-2 ซม. ปลายกลีบกลม โคนเรียวแคบ
                วงศ์ Sapindaceae                                     ก้านชูอับเรณูยาว 1.5-2.5 ซม. รังไข่เกลี้ยง ก้านชูเกสรเพศเมียยาว 1.5-3 ซม.
                  ชื่อพ้อง Sapindus fruticosus Roxb.                 เกลี้ยง ผลรูปกลมหรือรี ยาว 3-7 ซม. ผนังหนาสีส้มแดง มีริ้วตื้น ๆ หรือเรียบ
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 15 ม. กิ่งบางครั้งมีช่องอากาศ หูใบเทียมคล้าย  ก้านผลยาว 3.5-4 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก รูปไต ยาวประมาณ 7 มม. สีแดงเข้ม
                ใบติดเป็นคู่ที่โคนก้านใบ รูปรีกว้างหรือกลม ยาว 2-4 ซม. มีก้านสั้น ๆ ใบประกอบ  พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทย
                ปลายคี่ เรียงเวียน ใบย่อยมี 5-7 คู่ เรียงสลับหรือตรงข้าม รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก   พบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และชายป่าดิบชื้น ความสูง
                ยาว 9-40 ซม. ใบปลายส่วนมากลดรูป ก้านใบยาว 3-5 มม. ช่อดอกออกตามกิ่ง  100-500 เมตร น�้าสกัดจากรากแก้ปวดท้อง ขับปัสสาวะ ลดไข้


                136






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   136                                                                 3/1/16   5:28 PM
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161