Page 152 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 152

ช้ำงน้ำว
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่เบตง จังหวัดยะลา   ช้างไห้
                ขึ้นตามสันเขาในป่าดิบชื้น ความสูงประมาณ 600 เมตร     Borassodendron machadonis (Ridl.) Becc.
                  เอกสารอ้างอิง                                      วงศ์ Arecaceae
                   Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 532.  ชื่อพ้อง Borassus machadonis Ridl.
                                                                       ปาล์มล�าต้นเดี่ยว แยกเพศต่างต้น สูงได้ถึง 20 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-30 ซม.
                                                                     ใบรูปพัดห่อลู่ลง (costapalmate) เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-3.5 ม. แยกเป็นแฉกลึก
                                                                     70-80 แฉก ยาว 1.4-1.7 ม. ห่อลู่ลง แฉกย่อยแฉกเกินหรือประมาณกึ่งหนึ่ง ก้านใบ
                                                                     ยาว 3-4 ม. ด้านบนเป็นร่อง ลึก ขอบเรียบ คมคล้ายมีด โคนแยกเป็นสามเหลี่ยม
                                                                     กาบแยกจรดโคน มีเส้นใยตามขอบ ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด ออกตามซอกกาบ
                                                                     กาบประดับร่วงเร็ว ใบประดับเรียงซ้อนเหลื่อมหนาแน่น ช่อดอกเพศผู้แตกแขนง
                                                                     5-9 ครั้ง แกนช่อยาว 1-1.5 ม. ก้านช่อยาว 20-40 ซม. ช่อดอกแขนงมี 3-4 ช่อ ยาว
                                                                     30-40 ซม. ดอกออกเป็นกระจุก 2-6 ดอก ดอกยาว 1.7-2 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
                                                                     จ�านวนอย่างละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้ 6-15 อัน ช่อดอกเพศเมีย แกนช่อยาว 40-60 ซม.
                                                                     ก้านช่อยาว 30-50 ซม. บางครั้งแตกแขนง 1-3 ครั้ง ดอกออกเดี่ยว ๆ คล้าย
                                                                     ดอกเพศผู้ ยาว 2.8-3.2 ซม. รังไข่มี 3 ช่อง ยอดเกสรเพศเมียไร้ก้าน ติดทน ผล
                                                                     รูปไข่กว้าง ยาว 8-16 ซม. ผลแก่สีด�า ผิวเรียบ ผนังผลชั้นกลางหนาเป็นเส้นใย
                                                                     ผนังชั้นในแข็งมีริ้ว มี 3 เมล็ด
                  ชันหอย: กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีกยาว 3 ปีก โคนเป็นติ่งแผ่เป็นแผ่นคล้ายเกล็ด (ภาพ: เบตง ยะลา - MP)
                                                                       พบที่พม่า และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่แก่งกระจาน
                ช้างน้าว                                             จังหวัดเพชรบุรี และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้น หรือเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ
                Gomphia serrata (Gaertn.) Kanis                      700 เมตร นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
                วงศ์ Ochnaceae                                         สกุล Borassodendron Becc. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae มี 2 ชนิด
                  ชื่อพ้อง Meesia serrata Gaertn.                      อีกชนิด คือ B. borneense J. Dransf. พบเฉพาะที่บอร์เนียว ชื่อสกุลมาจาก
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 25 ม. หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูป  สกุล Borassus และ “dendron” ต้นไม้
                ใบหอกแกมรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 6-20 ซม. ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ๆ แผ่นใบ  เอกสารอ้างอิง
                ด้านบนเป็นมันวาว เส้นแขนงใบจ�านวนมากเรียงขนานกัน ปลายโค้งจรดกัน  Barfod, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol.
                เป็นเส้นขอบใน ก้านใบยาว 2-6 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาวได้ถึง   11(3): 337-339.
                35 ซม. ก้านดอกยาว 5-8 มม. ฐานดอกนูนกว้าง สูง 0.7-1 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยง
                5 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 4-7 มม. ขยายในผล ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ
                หรือรูปใบพาย ยาว 4.5-8 มม. ปลายมนกลม เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้านชูอับเรณู
                สั้นมาก อับเรณูเรียวยาว 2.5-6 มม. ปลายมีรูเปิด 2 รู มี 5 คาร์เพล แต่ละคาร์เพล
                มีช่องเดียว ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-5 มม. ขยายในผล ผลผนังชั้นในแข็ง มี 1-5 ผล
                ติดบนฐานรองดอกที่ขยาย รูปรี ยาว 0.8-1 มม. สีเทาเขียว สุกสีเทาอมน�้าเงิน
                หรือเกือบด�า มีเมล็ดเดียว
                   พบที่อินเดีย ศรีลังกา ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยส่วนมากพบทาง
                ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง
                และชายป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร
                   สกุลช้างน้าว Gomphia Schreb. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Ochnoideae มีประมาณ
                   30 ชนิด ส่วนมากพบในแอฟริกา ในไทยมีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษา
                   กรีก “gomphos” เข็มหมุด ตามลักษณะของผลย่อย         ช้างไห้: ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด ออกตามซอกกาบ ช่อดอกเพศผู้แตกแขนง ผลขนาดใหญ่ รูปไข่กว้าง แก่สีด�า ผิวเรียบ
                                                                     (ภาพ: cultivated - PK)
                  เอกสารอ้างอิง
                   Kanis, A. (1970). Ochnaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 28-29.  ช้าแป้น
                                                                     Callicarpa arborea Roxb.
                                                                     วงศ์ Lamiaceae

                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งมีขนรูปดาวสั้นนุ่มหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง
                                                                     เส้นกลางใบด้านบน ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก และรังไข่ ใบเรียงตรงข้าม
                                                                     สลับตั้งฉาก รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-35 ซม. ปลายแหลม โคน
                                                                     รูปลิ่มหรือกลม แผ่นใบหนา มีต่อมกระจาย ก้านใบยาว ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                                                                     แยกแขนง ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง แผ่กว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-12 ซม.
                                                                     ก้านช่อยาวกว่าก้านใบ เป็นเหลี่ยมเล็กน้อย ใบประดับรูปแถบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว
                                                                     ก้านดอกยาวประมาณ 1.5 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ขอบตัด ดอกสีม่วง หลอดกลีบดอก
                                                                     ยาวประมาณ 3 มม. ปลายแยกเป็น 4 แฉกรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม.
                                                                     ด้านนอกเกลี้ยงหรือมีขนประปราย เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอก
                                                                     ยาวกว่ากลีบดอก อับเรณูแตกตามยาว รังไข่มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด
                                                                     ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรแผ่กว้าง ผลสด ผนังชั้นในแข็ง
                  ช้างน้าว: เส้นแขนงใบจ�านวนมากเรียงขนานกัน ปลายโค้งจรดกันเป็นเส้นขอบใน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง   เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มม. สุกสีม่วงอมชมพู
                ผลผนังชั้นในแข็ง มี 1-5 ผล ติดบนฐานรองดอกที่ขยาย สุกสีเทาอมน�้าเงินหรือเกือบด�า (ภาพ: มุกดาหาร - PK)

                132






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   132                                                                 3/1/16   5:27 PM
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157