Page 153 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 153

พบที่อินเดีย ศรีลังกา ภูฏาน เนปาล บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน   เอกสารอ้างอิง  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ชำฤๅษี
                    คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่า  Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 335.
                    เบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าดิบชื้น และป่าชายหาด ความสูงถึงประมาณ   Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.
                                                                              Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 115.
                    1800 เมตร เปลือกมีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
                       สกุล Callicarpa L. มีประมาณ 140 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา และ
                       เอเชีย ในไทยมีพืชพื้นเมืองประมาณ 12 ชนิด ส่วนมากมีเกสรเพศผู้ 4 อัน และ
                       กลีบดอก 4 กลีบ ยกเว้น ปอนน C. pentandra Roxb. มีอย่างละ 5 ในไทยพบทาง
                       ภาคใต้ตอนล่าง และมีไม้ประดับอีกหนึ่งชนิด คือ ราชาไข่มุก C. americana L.
                       หรือ American beautyberry มีถิ่นกำาเนิดในสหรัฐอเมริกา เป็นไม้พุ่ม ใบขยี้ใช้กันยุง
                       ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kalli” สวย และ “karpos” ผล ตามลักษณะผล
                      เอกสารอ้างอิง
                       Chen, S.L. and M.G. Gilbert. (1994). Verbenaceae. In Flora of China Vol. 17: 4, 6.
                       Leeratiwong, C., P. Chantaranothai and A.J. Paton. (2009). A synopsis of the   ช้าม่วง: แผ่นใบเกลี้ยง ปีกยาว 2 ปีก ปีกสั้น 3 ปีก (ภาพ: ยะลา; ภาพซ้าย - MP, ภาพขวา - RP)
                          genus Callicarpa L. (Lamiaceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany)
                          37: 36-58.                                    ช้าเรือด
                                                                        Caesalpinia mimosoides Lam.
                                                                        วงศ์ Fabaceae
                                                                           ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย มีหนามและขนสากกระจายตามล�าต้น ช่อดอก และก้านดอก
                                                                        หูใบรูปลิ่มแคบ ยาว 0.7-1.5 ซม. ร่วงเร็ว ใบประกอบมีใบประกอบย่อย 10-30 ใบ
                                                                        แกนกลางยาว 25-40 ซม. ใบย่อยมี 10-20 คู่ รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 ซม.
                                                                        ปลายกลมมีติ่งหนามสั้น ๆ โคนเบี้ยว เกือบไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตาม
                                                                        ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม. ใบประดับรูปลิ่มแคบ ยาวประมาณ 4 มม. มีขนยาว
                                                                        ก้านดอกยาว 2-3 ซม. ปลายก้านมีรอยต่อ กลีบเลี้ยงมีขนยาวและต่อมกระจาย
                                                                        กลีบล่างโค้ง ดอกสีเหลืองยาว 1.5-2 ซม. กลีบกลางรูปไข่กลับ ขนาดเล็ก มีเส้น
                                                                        กลีบสีแดง ก้านชูอับเรณูมีขนหนาแน่น รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ฝักพอง รูปขอบขนาน
                                                                        ปลายโค้ง โคนแคบ ยาว 5-5.5 ซม. ปลายมีจะงอย มี 2 เมล็ด รูปรี แบน ยาวประมาณ
                                                                        1 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หนามขี้แรด, สกุล)
                                                                           พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้
                      ช้าแป้น: ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ดอกสีม่วง มี 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อัน ยาว  ถึงชุมพร ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง สองข้างถนน ความสูงถึงประมาณ
                    กว่ากลีบดอก ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย (ภาพ: เขาพนมเบญจา กระบี่ - RP)
                                                                        500 เมตร ยอดอ่อนกินเป็นผักสด ช่อดอกอ่อนใช้ปรุงอาหาร
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
                                                                              In Flora of Thailand Vol. 4(1): 67-69.





                      ปอนน: กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน (ภาพซ้าย: ยะลา - RP); ราชาไข่มุก: ผลสีม่วง (ภาพขวา: cultivated - RP)
                    ช้าม่วง
                    Anisoptera scaphula (Roxb.) Kurz
                    วงศ์ Dipterocarpaceae
                      ชื่อพ้อง Hopea scaphula Roxb.
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 50 ม. พูพอนสูงได้ถึง 3 ม. ชันสีขาวขุ่น มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน
                    หูใบด้านใน ช่อดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอกด้านนอก หูใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว
                    5-8 มม. ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 8-20 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบ
                    ข้างละ 12-20 เส้น เรียงจรดกันใกล้ขอบใบไม่ชัดเจน ก้านใบยาว 1.5-3 ซม.
                    ช่อดอกยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 3 มม.   ช้าเรือด: ช่อดอกแบบช่อกระจะ กลีบกลางรูปไข่กลับ ขนาดเล็ก มีเส้นกลีบสีแดง ฝักพอง ปลายโค้ง โคนแคบ
                    กลีบดอกรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ปลายกลีบมน ยาว 7-8 มม. เกสรเพศผู้ 15 อัน   ปลายมีจะงอย (ภาพดอก: สอยดาว จันทบุรี - PK; ภาพผล: ป่าละอู ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
                    อับเรณู ยาว 1-2 มม. ปลายมีรยางค์สั้น ๆ เป็นติ่งแหลม ฐานก้านเกสรเพศเมีย  ชาฤาษี, สกุล
                    ไม่ชัดเจน ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ยอดเกสรจัก 3 พู ไม่ชัดเจน
                    หลอดกลีบเลี้ยงมีขนประปราย ปีกยาว 2 ปีก ยาว 10-15 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาว   Paraboea (C. B. Clarke) Ridl.
                    1-3 ซม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระบาก, สกุล)  วงศ์ Gesneriaceae
                       พบที่อินเดีย บังกลาเทศ พม่าตอนล่าง และคาบสมุทรมลายูตอนบน ในไทย  ไม้ล้มลุก โคนต้นมักมีเนื้อไม้ ใบเรียงตรงข้าม เป็นวงรอบข้อ หรือเรียงเวียน
                    พบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี และภาคใต้ ขึ้น  ช่อดอกแบบช่อกระจุก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แฉกลึกเกือบจรดโคน ดอกรูประฆัง มี
                    ตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง 300-700 เมตร เป็นไม้วงศ์ยางที่มีขนาดใหญ่  5 กลีบ คล้ายรูปปากเปิด เกสรเพศผู้ 2 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณู
                    ที่สุดของไทย พบที่อุทยานแห่งชาติตากสินมหาราช (ต้นกระบากใหญ่) จังหวัดตาก   ที่ไม่แนบติดหลอดกลีบหนา สั้น อับเรณูขนาดใหญ่สีหลือง บางครั้งมีเกสรเพศผู้
                    มีเส้นรอบวงถึง 16 เมตร สูงประมาณ 50 เมตร ชื่อ ช้าม่วง เป็นชื่อที่เรียกทางภาคใต้   ที่เป็นหมัน รังไข่รูปทรงกระบอก ยอดเกสรส่วนมากเป็นตุ่มขนาดเล็ก ผลแห้งแตก
                    หมายถึงคล้ายมะม่วง ตามลักษณะใบอ่อนที่มีสีม่วง       ตามยาว บางครั้งบิดเป็นเกลียว เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก

                                                                                                                    133






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   133                                                                 3/1/16   5:27 PM
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158