Page 149 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 149

ชวนชม                                                 เอกสารอ้างอิง  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ช่อชมดำว
                                                                           Fang, R. and P.F. Stevens. (2007) Ericaceae (Vaccinium). In Flora of China
                    Adenium obesum (Forssk.) Roem. & Schult.                  Vol. 14: 476.
                    วงศ์ Apocynaceae                                       Sleumer, H. (1966). Ericaceae. In Flora Malesiana Vol. 6(5): 852-853.
                      ชื่อพ้อง Nerium obesum Forssk.                       Watthana, S. (2015). Ericaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 132-141.
                       ไม้พุ่มอวบน�้า น�้ายางขาว ใบเรียงหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปไข่กลับถึงรูปแถบ
                    ยาว 3-17 ซม. ปลายมีติ่งแหลม ก้านใบสั้น มีต่อมที่ซอกใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                    แยกแขนงสั้น ๆ ออกตามซอกใบที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่แคบ ยาว 0.5-1 ซม.
                    ดอกรูปแตร ส่วนมากสีชมพูหรือสีแดง กลีบเรียงซ้อนทับด้านขวาในตาดอก มี
                    5 กลีบ หลอดกลีบยาว 2-4.5 ซม. ด้านในมีขนสั้นนุ่ม กลีบเกือบกลม ยาว 1-2.8 ซม.
                    มีกะบังระหว่างกลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดภายในหลอดกลีบ ก้านชูอับเรณูยาว
                    5-7 มม. ปลายอับเรณูเรียวเป็นรยางค์ มีขนยาว มี 2 คาร์เพล ปลายเชื่อมติดกัน
                    เรียวเป็นก้านเกสรเพศเมีย ยาว 1-2 ซม. ผลเป็นฝักคู่ ยาว 10-22 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก
                    เรียวแคบ ยาว 1-1.5 ซม. กระจุกขนยาว 2.5-3.5 ซม.
                                                                          ช่อไข่มุก: ใบรูปไข่กลับ ปลายกลม โคนสอบเรียว ขอบเรียบ แผ่นใบหนา ก้านใบสีแดง แบน ช่อดอกแบบช่อกระจะ
                       มีถิ่นก�าเนิดในแอฟริกา เป็นไม้ประดับทั่วไป มีหลากสายพันธุ์ ยางมีพิษ ใช้เบื่อปลา  ดอกรูปคนโท ผลกลม (ภาพช่อดอก: เขาเหมน นครศรีธรรมราช, ภาพผล: ยะลา; - RP)
                    หรือใช้อาบลูกดอกในแอฟริกา มีสรรพคุณใช้แก้พิษงูหรือสัตว์มีพิษอื่น ๆ
                                                                        ช่อชมดาว
                       สกุล Adenium Roem. & Schult. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Apocynoideae เผ่า    Kohautia gracilis (Wall.) DC.
                       Wrightieae มี 5 ชนิด พบในแอฟริกา และคาบสมุทรอาระเบียใน ตะวันออกกลาง
                       ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “aden” ที่ใช้เรียกต้นไม้ชนิดนี้  วงศ์ Rubiaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Hedyotis gracilis Wall., Oldenlandia gracilis (Wall.) Hook. f.
                      เอกสารอ้างอิง
                       Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 78.  ไม้ล้มลุก สูง 20-50 ซม. หูใบเป็นแผ่นบาง ยาว 1-2 มม. ปลายจักชายครุย
                       Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum   1-2 อัน ใบเรียงตรงข้าม รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 3.5-9 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่ง
                          Press, Honolulu, Hawai`i.                     แผ่นใบสาก เส้นแขนงใบเป็นเส้นกลางใบ ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
                                                                        ออกที่ปลายกิ่ง ก้านช่อยาวได้ถึง 12 ซม. แต่ละช่อกระจุกมักมีดอกเดียว ก้านดอก
                                                                        ยาว 0.5-3.5 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว
                                                                        1-2 มม. ติดทน ดอกรูปดอกเข็ม ด้านในสีครีม ด้านนอกสีม่วงอมชมพูหรือน�้าตาล
                                                                        หลอดกลีบยาว 0.7-1.2 ซม. มี 4 กลีบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 3.5-5.5 มม.
                                                                        เกสรเพศผู้ 4 อัน ไร้ก้าน อับเรณูรูปเส้นด้าย ยาว 2-2.5 มม. ปลายมีรยางค์ยื่นจรด
                                                                        ปากหลอดกลีบ ก้านเกสรเพศเมียยาว 2.5-5 มม. ยอดเกสรแยก 2 แฉก รูปเส้นด้าย
                                                                        ยาว 2-3.5 มม. ผลแห้งแตกกลางพูด้านบน รูปไข่กว้าง กว้าง 3-4 มม. เมล็ดขนาดเล็ก
                                                                        จ�านวนมาก
                                                                           พบที่อินเดีย ปากีสถาน เนปาล ศรีลังกา พม่า และทางภาคตะวันตกเฉียงใต้
                                                                        ของไทยที่ทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ขึ้นบนเขาหินปูนเตี้ย ๆ ความสูงประมาณ
                                                                        200 เมตร
                                                                           สกุล Kohautia Cham. & Schltdl. อยู่ภายใต้เผ่า Spermacoceae มี 27 ชนิด
                                                                           ส่วนมากพบในแอฟริกา ในไทยมีชนิดเดียว ต่างจากสกุล Oldenlandia และ
                      ชวนชม: ดอกหลากสี กะบังแฉกไม่เป็นระเบียบ ปลายอับเรณูเรียวแหลมเป็นรยางค์ มีขนยาว นิยมท�าเป็นบอนไซ   Hedyotis ที่ก้านเกสรเพศเมียเป็นแบบสั้นแบบเดียว ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก
                    (ภาพ: cultivated; ภาพบอนไซและดอกขาว - RP, ภาพดอกสีแดง - PK, ภาพดอกขาวขอบแดง - MP)  และไม่ยื่นเลยอับเรณู เกสรเพศผู้ติดที่ปากและไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก
                                                                           ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเช็ก Francis Kohaut
                    ช่อไข่มุก
                    Vaccinium viscifolium King & Gamble                    เอกสารอ้างอิง
                                                                           Puff, C. (2013). Kohautia Cham. & Schltdl. (Rubiaceae) - a new genus record
                    วงศ์ Ericaceae                                            for the Flora of Thailand: K. gracilis (Wall.) DC. discovered in Kanchanaburi.
                       ไม้พุ่มหรืออิงอาศัย สูงได้ถึง 6 ม. ใบเรียงเวียน รูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน   Thai Forest Bulletin (Botany) 41: 56-60.
                    ยาว 4-10 ซม. ปลายมนหรือกลม โคนสอบเรียว ขอบเรียบ แผ่นใบหนา ก้านใบ
                    สีแดง แบน ยาว 4-8 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง
                    2-5 ช่อ ยาว 3-11 ซม. เกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม ใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาว
                    3-6 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 1-1.5 มม. ปลายแยก 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
                    ขนาดเล็ก ด้านนอกมีขนและต่อมกระจาย ดอกรูปคนโท สีขาวหรืออมชมพู หลอดกลีบ
                    ยาว 6-7 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู้
                    10 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 4 มม. มีขนหนาแน่น อับเรณูไม่มีเดือย ปลาย
                    มีรูเปิด จานฐานดอกเป็นวง รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียยาว 6-7 มม. ผลสด
                    มีหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 มม.
                       พบที่เวียดนามตอนใต้ คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยที่นครศรีธรรมราช
                    ยะลา และนราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง 1200-1400 เมตร

                       สกุล Vaccinium L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Vaccinioideae มีประมาณ 450 ชนิด
                       ส่วนมากพบทางซีกโลกเหนือ อย่างไรก็ตาม หลายชนิดที่พบในเอเชียอาจถูก
                                                                          ช่อชมดาว: เส้นแขนงใบเป็นเส้นกลางใบ ใบไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ช่อกระจุกส่วนมากมีดอกเดียว
                       ยุบรวมกับสกุล Agapetes ในไทยมีประมาณ 10 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละติน  ดอกรูปดอกเข็ม เกสรเพศผู้และเพศเมียไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ผลแห้งแตกกลางพูด้านบน รูปไข่กว้าง
                       หมายถึงพืชพวก berry                              (ภาพ: ทองผาภูมิ กาญจนบุรี - RP)

                                                                                                                    129






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   129                                                                 3/1/16   5:26 PM
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154