Page 146 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 146

ชบำโคม


                ชบาโคม              สารานุกรมพืชในประเทศไทย          ชมพูกาหลง
                Abutilon megapotamicum (A. Spreng.) A. St.-Hil. & Naudin  Scaphochlamys biloba (Ridl.) Holttum
                วงศ์ Malvaceae                                       วงศ์ Zingiberaceae
                  ชื่อพ้อง Sida megapotamica A. Spreng.               ชื่อพ้อง Gastrochilus biloba Ridl., Scaphochlamys longifolia Holttum,
                   ไม้พุ่ม สูง 1-2.5 ม. หูใบรูปลิ่มแคบ ยาว 5-6 มม. ใบเรียงเวียน รูปไข่ จัก 3-5 พู   Scaphochlamys biloba (Ridl.) Holttum var. lanceolata (Ridl.) Holttum
                ยาว 4-7 ซม. ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 1-1.8 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ   ไม้ล้มลุก เหง้าทอดเลื้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม. แทงยอดห่าง ๆ มี 1-2 ใบ
                รูประฆัง ห้อยลง ก้านดอกยาว 3-3.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 1.2-2 ซม.   กาบใบยาว 2-5 ซม. ลิ้นกาบขนาดเล็ก ก้านใบสั้น หรือยาวได้ถึง 20 ซม. ใบรูปรี
                กลีบยาวประมาณ 1 ซม. ดอกสีเหลือง กลีบรูปใบพาย ยาว 2-3 ซม. เส้าเกสรสี  ถึงรูปใบหอก ขนาดเล็ก หรือยาว 15-25 ซม. ช่อดอกออกที่โคน รูปรี ยาวได้ถึง
                น�้าตาลแดงเปลี่ยนเป็นสีเข้ม ยาว 3-3.5 ซม. ช่วงเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1.5 ซม.   4 ซม. ใบประดับเรียงเวียนซ้อนกัน สีน�้าตาล ยาว 1.5-2 ซม. ใบประดับย่อยสั้น
                ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. คาร์เพลมีขนสั้นนุ่ม ก้านเกสรเพศเมีย 7-10 อัน   หรือยาวกว่าใบประดับเล็กน้อย ในแต่ละใบประดับมีดอกเดียว ใบประดับย่อย
                ไม่ยื่นเลยเกสรเพศผู้ ยอดเกสรเป็นตุ่ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะก่องข้าว, สกุล)  มีอันเดียว หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1.3 ซม. ปลายจัก 3 พูตื้น ๆ แฉกด้านเดียว
                   มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ ดอกกินเป็นผักสดหรือปรุงสุก เป็นไม้ประดับ คล้ายกับ   ประมาณ 5 มม. ดอกสีขาว มีต่อมขนเล็ก ๆ กระจาย หลอดกลีบดอกยาวประมาณ
                A. pictum (Gillies ex Hook.) Walp. ที่มีหลายสายพันธุ์ หลากสี  3 ซม. กลีบล่างรูปแถบ ยาวประมาณ 1.7 ซม. กลีบคู่ข้างสั้นกว่าเล็กน้อย แผ่น
                                                                     เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้างรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1.5 ซม.
                  เอกสารอ้างอิง                                      กลีบปากรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 2 ซม. ปลายแฉกประมาณกึ่งหนึ่ง กลางกลีบ
                   Huxley, A. (1992). The new RHS Dictionary of Gardening. MacMillan Press.  มีปื้นสีเหลืองอ่อนหรือสีชมพู เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 8 มม. สันอับเรณูไม่ชัดเจน
                   Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
                      Press, Honolulu, Hawai`i.                        พบที่คาบสมุทรมลายู และทางภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ปัตตานี ยะลา และ
                                                                     นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ

                                                                       สกุล Scaphochlamys Baker มีมากกว่า 30 ชนิด พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว
                                                                       และภาคใต้ตอนล่างของไทย ในไทยมี 4 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “skaphe”
                                                                       หรือ “skapho” เรือ และ “chlamys” ใบประดับ หมายถึงใบประดับที่รูปร่างคล้ายเรือ

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Larsen, K. and S.S. Larsen. (2006). Gingers of Thailand. Queen Sirikit Botanic
                                                                          Garden. Chiang Mai.
                                                                       Searle, R.J. (2010). The genus Scaphochlamys (Zingiberaceae-Zingibereae): a
                                                                          compendium for the field worker. Edinburgh Jounal of Botany 67(1): 75-121.






                  ชบาโคม: A. megapotamicum ใบจัก 3-5 พู ขอบจัก ดอกออกเดี่ยว ๆ รูประฆัง ห้อยลง ก้านดอกยาว เส้าเกสร
                สีน�้าตาลแดงเปลี่ยนเป็นสีเข้ม (ภาพซ้าย: cultivated - RP); ชบาโคม: A. pictum (ภาพขวา: cultivated - RP)
                ชบาจิ๋ว
                Hibiscus hirtus L.
                วงศ์ Malvaceae
                                                                      ชมพูกาหลง: ไม้ล้มลุกมี 1-2 ใบ ช่อดอกออกที่โคน กลีบปากรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 2 ซม. ปลายแฉกประมาณ
                   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. กิ่งมีขนรูปดาวกระจาย มีขนยาวตามก้านใบ ก้านดอก   กึ่งหนึ่ง กลางกลีบมีปื้นสีเหลืองอ่อนหรือสีชมพู (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - MP)
                ริ้วประดับ และกลีบเลี้ยง หูใบรูปเส้นด้าย ยาวประมาณ 1 ซม. ใบรูปไข่ เรียบหรือ
                จัก 3 พูตื้น ๆ ยาว 3-8 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเส้นใบด้านล่างมีต่อมขนาดใหญ่   ชมพูเชียงดาว, สกุล
                ขอบจักซี่ฟัน ปลายจักมีขนยาว ก้านใบยาวได้ถึง 5 ซม. ช่อดอกมีดอกเดียว   Pedicularis L.
                ก้านดอกยาว 2-5 ซม. ริ้วประดับ 5-7 อัน รูปลิ่มแคบ ยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยง  วงศ์ Orobanchaceae
                รูปใบหอก ยาวประมาณ 1 ซม. ดอกสีชมพูอมส้มหรือขาว กลีบรูปรี ยาว 1.5-1.8 ซม.
                เส้าเกสรสั้นกว่ากลีบดอก เกสรเพศผู้เรียงเวียนตลอดความยาว ก้านเกสรเพศเมีย  ไม้ล้มลุกกึ่งพืชเบียน ใบเดี่ยวหรือใบจักแบบขนนก เรียงเวียน เรียงตรงข้าม
                แยก 5 แฉก ยาว 7-8 มม. ผลรูปกลม สั้นกว่ากลีบเลี้ยง มี 12-15 เมล็ด มีปุยคล้ายฝ้าย   หรือเป็นกระจุกรอบข้อ ช่อดอกแบบช่อกระจะ หรือช่อกระจุกแยกแขนงคล้ายช่อ
                (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชบา, สกุล)                     เชิงลด ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ใบประดับคล้ายใบ กลีบเลี้ยงเป็นหลอดหรือ
                                                                     รูประฆังคล้ายรูปปากเปิด ปลายแยกเป็น 2-5 กลีบ กลีบดอกรูปปากเปิด กลีบบน
                   มีถิ่นก�าเนิดในอินเดียและชวา ปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน   งุ้มคล้ายหมวก กลีบล่าง 3 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อัน สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ก้านชู

                  เอกสารอ้างอิง                                      อับเรณูรูปเส้นด้าย ติดบนหลอดกลีบดอก ติดสลับกับกลีบดอก อับเรณูอยู่ใต้กลีบบน
                   Master, T.M. (1874). Malvaceae. In Flora of British India Vol. 1: 335.  ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตกกลางพู ปลายมีจะงอย
                                                                     เมล็ดจ�านวนมาก ผิวเป็นร่างแห

                                                                       สกุล Pedicularis เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Scrophulariaceae เช่นเดียวกับอีกหลายสกุล
                                                                       ที่เป็นพืชเบียน เช่นเดียวกับสกุล Alectra, Buchnera, Centranthera, Sopubia
                                                                       และ Striga ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Pedicularideae มี 600-800 ชนิด ส่วนใหญ่พบ
                                                                       บริเวณเขตอัลไพน์ทางตะวันตกของจีนและแถบหิมาลัย ในไทยมี 4 ชนิด ชื่อสกุล
                                                                       มาจากภาษาละติน “pediculus” แมลงพวกเห็บ หมัด ตามความเชื่อที่ว่าเป็นที่อยู่
                                                                       ของพวกเห็บหมัดที่ติดจากสัตว์เลี้ยง และสัตว์เลี้ยงตัวอื่นจะติดเมื่อกินพืชสกุล
                  ชบาจิ๋ว: ขอบใบจักซี่ฟันลึก มีขนยาวตามปลายจัก ก้านดอก และกลีบเลี้ยง ช่อดอกมีดอกเดียว ก้านเกสรเพศเมีย
                แยก 5 แฉก ยอดเกสรเป็นตุ่ม (ภาพ: cultivated - RP)       นี้เป็นอาหาร

                126






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   126                                                                 3/1/16   5:25 PM
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151