Page 141 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 141

จิงจ้อเหลือง
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                           พบที่แอฟริกา อินเดีย ปากีสถาน เนปาล ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                                                                        และมาเลเซีย ออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามข้างทาง ริมล�าธาร หรือชายหาด
                                                                        ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร รากมีสรรพคุณขับพิษ ขับปัสสาวะ

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 451-453.





                      จิงจ้อผีเสื้อ: ช่อดอกแบบช่อกระจุก ใบประดับคล้ายใบ ใบประดับย่อยคล้ายกาบ ดอกรูปแตร ผลแห้งแตกกลางพู
                    ฐานกลม ปลายเป็นจะงอยรูปดาบ มีขนหนาแน่น (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - RP)
                    จิงจ้อหิน
                    Merremia verruculosa S. Y. Liu
                    วงศ์ Convolvulaceae
                       ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 2 ม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 1.5-5 ซม.
                    แผ่นใบมีขนละเอียดด้านล่าง ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกมี 1-4 ดอก ก้านช่อ
                    ยาวได้ถึง 2 ซม. ใบประดับรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 3-5 มม. ก้านดอก
                    และกลีบเลี้ยงหนา มีตุ่มกระจาย ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลีบเลี้ยงคู่นอกรูปขอบขนาน
                    หรือแกมรูปไข่ ยาว 0.6-1.2 ซม. ปลายมนหรือกลม กลีบใน 3 กลีบยาว 0.8-1.4 ซม.   จิงจ้อเหลี่ยม: ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ ดอกรูปแตร ผลแห้งแตก มี 2-4 กระเปาะ ผนังเชื่อม
                    ปลายแหลม ดอกรูปล�าโพง สีเหลืองอ่อน ยาว 1.8-2.2 ซม. โคนก้านชูอับเรณูมี  ติดกัน บางใสครึ่งบนคล้ายฝา (ภาพดอก: ปทุมธานี, ภาพผล: ขนอม นครศรีธรรมราช; - RP)
                    รยางค์คล้ายเกล็ด อับเรณูบิดเวียน รังไข่เกลี้ยง ผลรูปรี ยาว 0.8-1.2 ซม. เมล็ด  จิงจ้อเหลือง, สกุล
                    ยาวประมาณ 5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จิงจ้อเหลือง, สกุล)
                                                                        Merremia Dennst. ex Endl.
                       พบที่จีนตอนใต้ ลาว และกัมพูชา ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                    และภาคตะวันออก ขึ้นตามที่โล่งในป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้งที่เป็นหินทราย ความสูง   วงศ์ Convolvulaceae
                    100-700 เมตร                                           ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม หรือไม้เถา ใบเดี่ยวหรือใบประกอบ เรียงเวียน เรียบหรือแฉก
                                                                        เป็นพู ช่อดอกส่วนมากแบบช่อกระจุก ออกตามซอกใบ ใบประดับขนาดเล็ก ส่วนมาก
                      เอกสารอ้างอิง                                     ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดเท่า ๆ กัน หรือกลีบคู่นอกขนาดเล็กกว่า ติดทนและ
                       Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 445-446.
                                                                        มักขยายในผล ดอกรูปแตรหรือรูประฆัง ส่วนมากสีขาวหรือเหลือง ปลายแยก
                                                                        5 แฉกตื้น ๆ หรือเกือบเรียบ กลางกลีบเป็นแถบริ้ว เกสรเพศผู้ 5 อัน ไม่ยื่นพ้น
                                                                        ปากหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูรูปเส้นด้าย โคนแผ่กว้าง อับเรณูส่วนมากบิดเวียน
                                                                        เรณูไม่มีหนาม จานฐานดอกเป็นวง รังไข่ 4 ช่อง มีออวุล 4 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย
                                                                        รูปเส้นด้าย ยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรมี 2 พู ผลแห้งแตก มี 4 ส่วน
                                                                        ส่วนมากมี 4 เมล็ด

                                                                           สกุล Merremia มีประมาณ 100 ชนิด พบทั้งในเขตอบอุ่นและเขตร้อน ในไทย
                                                                           มีไม่น้อยกว่า 16 ชนิด ลักษณะทั่วไปคล้ายกับสกุล Ipomoea ซึ่งอับเรณูส่วนมาก
                                                                           ไม่บิดเวียน เรณูมีหนามละเอียด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน
                                                                           Blasius Merrem (1761-1824)

                                                                        จิงจ้อเหลือง
                                                                        Merremia vitifolia (Burm. f.) Hallier f.
                      จิงจ้อหิน: ก้านดอกหนามีตุ่มกระจาย กลีบเลี้ยงมีตุ่มหนาแน่น ขยายในผล ดอกรูปล�าโพง สีเหลืองอ่อน (ภาพ: ภูผาเทิบ   ชื่อพ้อง Convolvulus vitifolius Burm. f.
                    มุกดาหาร - PK)                                         ไม้เถาล้มลุก เกลี้ยงหรือมีขนยาวตามล�าต้น แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ และช่อดอก
                    จิงจ้อเหลี่ยม                                       ใบรูปฝ่ามือจักตื้น ๆ หรือแฉกลึก 3-7 แฉก กว้าง 4-15.5 ซม. ยาว 5-18 ซม.
                    Operculina turpethum (L.) Silva Manso               โคนรูปหัวใจ ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ หรือเกือบเรียบ ก้านใบยาว 1-4 ซม. ก้านช่อ
                                                                        ยาว 2-15 ซม. มีหนึ่งหรือหลายดอก ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ปลายหนา ใบประดับ
                    วงศ์ Convolvulaceae                                 รูปลิ่มแคบ กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 1.4-1.8 ซม. ขยายในผล มีต่อม
                      ชื่อพ้อง Conolvulus turpethum L., Ipomoea turpethum (L.) R. Br.  โปร่งแสง กลีบคู่นอกด้านนอกมีขนหยาบยาว 3 กลีบด้านในเกลี้ยง ดอกรูปแตร
                       ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 4 ม. ล�าต้นเป็นเหลี่ยม ใบรูปไข่ แกมรูปขอบขนาน   สีเหลือง ด้านในบางครั้งมีสีแดงเข้ม ยาว 2.5-5.5 ซม. เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1 ซม.
                    หรือรูปหัวใจ ยาว 4-14 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบยาว 2-10 ซม. มีสัน  รังไข่เกลี้ยง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.2 ซม. เปลือกบาง เมล็ดรูปไข่มน
                    คล้ายปีก ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ ส่วนมากมี 1-3 ดอก ก้านช่อยาว 0.5-3 ซม.   ยาวประมาณ 7 มม.
                    ใบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 1-2.5 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม.   พบที่อินเดีย ศรีลังกา เนปาล จีน พม่า ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา
                    ขยายในผลยาวได้ถึง 4 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1.5-2 ซม. ขยายในผล ดอกรูปแตร   ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งในป่าเสื่อมโทรม ชายป่า หรือข้างถนน ความสูง
                    สีขาว ยาว 3.5-4 ซม. ปลายจักคล้ายมี 10 กลีบ กลางกลีบมีแถบ เกลี้ยง อับเรณู  100-1600 เมตร ทั้งต้นใช้รักษาอาการปัสสาวะอักเสบ
                    บิดเวียน ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ยอดเกสรจัก 2 พู ผลแห้งแตก
                    มี 2-4 กระเปาะกลม ๆ แบน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. ผนังเชื่อม  เอกสารอ้างอิง
                    ติดกันบางใสครึ่งบนคล้ายฝา มี 2-4 เมล็ด รูปไข่แกมสามเหลี่ยม สีด�า ยาวประมาณ   Fang, R. and G. Staples. (1995). Convolvulaceae. In Flora of China Vol. 16:
                                                                              291, 295.
                    6 มม. เกลี้ยง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ บานบ่าย, สกุล)     Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 431-447.

                                                                                                                     121






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   121                                                                 3/1/16   5:24 PM
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146