Page 140 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 140

จิงจ้อนวล


                จิงจ้อนวล           สารานุกรมพืชในประเทศไทย            พบในแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์
                Merremia bambusetorum Kerr                           นิวกินี หมู่เกาะแปซิฟิก และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า และ
                                                                     เขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร มีความผันแปรสูง แยกเป็นหลาย
                วงศ์ Convolvulaceae                                  varieties น�้าสกัดจากใบและรากช่วยให้นอนหลับ
                   ไม้เถาล้มลุก ล�าต้นเกลี้ยง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5.5-13 ซม.
                ปลายมีติ่งแหลม โคนรูปหัวใจ ก้านใบยาว 0.8-1.2 ซม. หูใบเทียมขนาดเล็ก 2 อัน   สกุล Jacquemontia Choisy มีประมาณ 120 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกา ในไทย
                ช่อดอกมี 1-5 ดอก ก้านช่อยาว 3-4.5 ซม. ก้านดอกยาว 1-1.6 ซม. ปลายก้านหนา   มีชนิดเดียว และพบเป็นไม้ประดับ 1 ชนิด คือ แส J. pentanthos (Jacq.) G. Don
                กลีบเลี้ยงรูปรี ยาว 1-1.2 ซม. โค้งเว้า ปลายกลม เส้นกลางกลีบเป็นสัน ปลายมี  ดอกสีฟ้าอมม่วง กลีบขนาดใหญ่กว่า แต่กลีบเลี้ยงแคบกว่า ชื่อสกุลตั้งตาม
                ติ่งแหลม ดอกรูปแตร สีเหลืองหรือครีม ยาว 3-4.2 ซม. ปลายแยกเป็นห้าเหลี่ยม  นักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศส Venceslas Victor Jacquemont (1801-1832)
                ตื้น ๆ ปลายกลีบด้านนอกมีขนเป็นกระจุก อับเรณูไม่บิดเวียน ยาวประมาณ 4 มม.   เอกสารอ้างอิง
                รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.6-1.8 ซม. ผลรูปกรวย ยาว 1.2-1.5 ซม. สีน�้าตาล   Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 427-429.
                เกลี้ยง เมล็ดรูปสามเหลี่ยมกลม ๆ ยาว 4-5 มม. มีขนหนาแน่น (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
                จิงจ้อเหลือง, สกุล)
                   พบที่จีนตอนใต้และเวียดนาม ในไทยพบทุกภาค ทางภาคใต้จนถึงชุมพร ขึ้นตาม
                ข้างทางหรือชายป่า ใกล้แหล่งน�้าหรือล�าธาร ความสูง 100-800 เมตร

                จิงจ้อนวลเล็ก
                Merremia hirta (L.) Merr.
                  ชื่อพ้อง Convolvulus hirtus L.
                   ไม้เถาล้มลุก ล�าต้นมีขนหยาบหรือเกลี้ยง มีรากตามล�าต้น ใบรูปไข่ หรือแกม  จิงจ้อผี: ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนยาว ดอกรูปล�าโพง สีขาว หรืออมม่วง กลางกลีบ
                รูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือรูปแถบ ยาว 2-6 ซม. ปลายมีติ่งหรือเว้าตื้น โคนกลม   มีแถบ ยอดเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก โค้งออก ผลกลม เกลี้ยง (ภาพ: ไทรโยค กาญจนบุรี - RP)
                ตัด มีติ่งหรือเป็นเงี่ยง แผ่นใบด้านล่างมีขนหยาบยาวหรือเกลี้ยง ก้านใบยาว 1-5 มม.
                หรือยาวได้ถึง 2 ซม. ส่วนมากมี 1-4 ดอกในแต่ละช่อ ก้านช่อยาว 1.5-7.5 ซม.
                ใบประดับรูปไข่ ยาว 1-2 มม. ติดทน ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน
                กลีบคู่นอกยาว 3-5 มม. ขอบมีสีเข้ม 3 กลีบในยาวประมาณ 6 มม. ดอกรูปแตร
                สีเหลืองอ่อน มีแถบกลางสีเข้ม เกลี้ยง ยาว 1-1.8 ซม. รังไข่เกลี้ยง ผลรูปไข่เกือบกลม
                ยาว 6-7 มม. เปลือกบาง เกลี้ยง เมล็ดรูปสามเหลี่ยมรี ยาวประมาณ 3 มม. มักมี
                ขนปุยที่ขอบและขั้ว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จิงจ้อเหลือง, สกุล)
                   พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลียตอนบน ในไทย
                พบทุกภาค ขึ้นตามข้างทาง ที่โล่ง ทุ่งนา หรือชายป่า ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร
                รูปร่างของใบมีความผันแปรสูง

                  เอกสารอ้างอิง
                   Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 433-434,
                      437-438.
                                                                      แส: ใบรูปไข่ โคนรูปหัวใจ ช่อดอกแบบช่อกระจุก ดอกขนาดใหญ่กว่าจิงจ้อผี ดอกสีฟ้าอมม่วง โคนด้านในสีขาว
                                                                     (ภาพ: cultivated - RP)
                                                                     จิงจ้อผีเสื้อ
                                                                     Thunbergia papilionacea W. W. Sm.
                                                                     วงศ์ Acanthaceae
                                                                       ไม้เถาล้มลุก ใบรูปไข่ แผ่กว้างคล้ายผีเสื้อ ยาว 4-5 ซม. โคนรูปหัวใจ ขอบจัก
                                                                     ซี่ฟันลึกห่าง ๆ แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบ
                  จิงจ้อนวล: ก้านดอกหนา เส้นกลางกลีบเลี้ยงเป็นสัน ปลายเป็นติ่งแหลม (ภาพซ้าย: น�้าตกภูละออ ศรีสะเกษ - RP);
                จิงจ้อนวลเล็ก: ดอกรูปแตร แผ่นกลีบมีแถบกลาง เกลี้ยง (ภาพขวา: คันธุลี ชุมพร - RP)  สั้นมาก ใบบนช่อดอกก้านใบยาว 1-6 ซม ช่อดอกแบบช่อกระจุก มี 2-3 ดอก
                                                                     ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ช่อที่ปลายกิ่งยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านดอกยาวได้ถึง
                จิงจ้อผี                                             2 ซม. ใบประดับคล้ายใบ ยาวประมาณ 5 ซม. ขอบจักชายครุย ใบประดับย่อย
                Jacquemontia paniculata (Burm. f.) Hallier f.        มี 1 คู่ คล้ายกาบหุ้มดอก ติดทน ยาว 1-5 ซม. กลีบเลี้ยงลดรูป ดอกรูปแตร
                วงศ์ Convolvulaceae                                  สีเหลืองสด หลอดกลีบยาวประมาณ 2 ซม. ปลายบานออกกว้าง 2-5 ซม. มี 5 แฉก
                                                                     กลม ๆ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรเพศผู้อันสั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก
                  ชื่อพ้อง Ipomoea paniculata Burm. f., Jacquemontia violacea (Vahl) Choisy
                                                                     ก้านชูอับเรณูรูปลิ้น ยาวประมาณ 1 ซม. อับเรณูเชื่อมติดกันที่ปลาย มีขน รังไข่มีขน
                   ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 2 ม. มีขนสั้นนุ่มตามแผ่นใบ ก้านใบ ก้านดอก หรือเกลี้ยง   หนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลแห้งแตกกลางพู ฐานกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
                ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 1.5-8 ซม. โคนรูปหัวใจ ก้านใบยาว 1-6 ซม.   ประมาณ 1.5 ซม ปลายเป็นจะงอยรูปดาบ ยาวประมาณ 2 ซม. มีขนหนาแน่น
                ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม ก้านช่อยาวได้ถึง 4 ซม. ใบประดับรูปลิ่มแคบ   ก้านผลยาว 2-3 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ รางจืด, สกุล)
                ก้านดอกยาว 3-5 มม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม 3 กลีบนอกขนาดใหญ่กว่าคู่ใน   พบที่พม่าและภาคเหนือของไทยที่แม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน และดอยตุง
                ยาว 5-7 มม. ด้านนอกมีขนยาว ดอกรูปล�าโพง สีขาว อมม่วงหรืออมชมพู ยาว   จังหวัดเชียงราย ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบเขาที่เป็นเขาหินปูน ความสูง
                0.8-1.2 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกลี้ยงหรือมีขนใกล้ปลายกลีบ กลางกลีบ  400-1400 เมตร
                เป็นแถบยาว เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดที่โคนหลอดกลีบ ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ อับเรณู
                รูปรี เรณูไม่เป็นหนาม รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 6-8 มม. ยอดเกสรแยก   เอกสารอ้างอิง
                2 แฉก โค้งออก ผลแห้งแตกเป็น 8 ซีก กลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม. เกลี้ยง   Smith, W.W. (1914). Thunbergia papilionacea. Records of the Botanical Survey
                มี 4 เมล็ด ยาวประมาณ 2 มม. มีปุ่มกระจาย ขอบมีปีกแคบ ๆ     of India 6: 103.

                120






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   120                                                                 3/1/16   5:24 PM
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145