Page 145 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 145
ชบำ
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า เวียดนามตอนบน ในไทยพบที่ดอยภูคา จังหวัดน่าน
ขึ้นตามริมล�าธารในป่าดิบเขา ความสูงประมาณ 1200 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Larsen, S.S. (1999). Bauhinia wallichii J.F. Macbr. (Leguminosae-Caesalpinioideae),
a species new to Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 27: 25-29.
ชงโคดอกเหลือง: ดอกห้อยลงรูประฆัง กลีบดอกมี 1 กลีบมีปื้นสีม่วงเข้มที่โคนกลีบด้านใน (ภาพ: cultivated - RP)
ชงโคภูคา: ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนงสั้น ๆ ฐานดอกเบี้ยว มีริ้ว กลีบดอกมีขนสีน�้าตาลคล้ายเส้นไหม เกสรเพศผู้
3 อัน รังไข่มีขนหนาแน่น มีก้านสั้น ๆ (ภาพ: ดอยภูคา น่าน - RP)
ชบา, สกุล
Hibiscus L.
วงศ์ Malvaceae
ชงโคด�า: กลีบดอกมีปื้นสีเหลืองตรงกลาง เกสรเพศผู้ 3 อัน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน (ภาพ: ตะรุเตา สตูล - PK)
ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น พบน้อยที่เป็นไม้เถา มีหูใบ ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบ
ช่อกระจะหรือแยกแขนง บางครั้งมีดอกเดียว ดอกสมบูรณ์เพศ ก้านดอกส่วนมาก
เป็นข้อ ริ้วประดับมี 5 อัน หรือหลายอัน ติดทน กลีบเลี้ยงรูประฆัง มี 5 กลีบ
ติดทน กลีบดอกมี 5 กลีบ บางครั้งดอกซ้อน ติดที่โคนเส้าเกสรเพศผู้ที่ส่วนมาก
สั้นกว่ากลีบดอก อับเรณูกระจายตลอดความยาวเส้าเกสรหรือเฉพาะช่วงบน
รังไข่ 5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียแยกเป็น 5 แฉก ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งส่วน
มากแตกเป็น 5 ซีก หรือคล้ายมี 10 ซีก เมล็ดรูปไต มีขนหรือตุ่ม
ชงโคไฟ: B. pottsii var. velutina ดอกสีส้มอมเหลือง ก้านกลีบยาวกว่าแผ่นกลีบ (ภาพซ้าย: ทุ่งตะโก ระนอง - RP) สกุล Hibiscus อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Malvoideae มีมากกว่า 200 ชนิด พบในเขตร้อน
ชงโคขาว: B. pottsii var. subsessilis ดอกสีขาว ก้านกลีบดอกสั้น (ภาพขวา: ชุมพร - RP)
และกึ่งเขตร้อน ในไทยมีประมาณ 15 ชนิด และมีที่นำาเข้ามาเป็นไม้ประดับอีก
หลายชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละติน ที่ใช้เรียกพืชชนิด Althaea officinalis L.
ในยุโรป หมายถึงพืชสกุลชบามีลักษณะกิ่งเหนียวใช้ทำาเชือกได้เช่นเดียวกัน
ชบา
Hibiscus rosa-sinensis L.
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. มีขนรูปดาวกระจายตามกิ่ง เส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านดอก
ริ้วประดับ กลีบเลี้ยง และหูใบ หูใบรูปเส้นด้าย ยาว 0.5-1.2 ซม. ใบรูปไข่ ยาว
4-9 ซม. ขอบจักซี่ฟันหรือจักเป็นพู เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ก้านใบยาว 0.5-2 ซม.
ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 3-7 ซม. ปลายก้านมีข้อ
ริ้วประดับ 6-7 อัน รูปเส้นด้าย เชื่อมติดกันที่โคน ยาว 0.8-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง
รูปไข่หรือแกมรูปใบหอก ยาวประมาณ 2 ซม. ติดทน ดอกรูปแตร สีแดงหรือส้ม
อมเหลือง ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 6-10 ซม. แผ่นกลีบรูปไข่กลับ มีขนยาว
ชงโคแดง: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตรงข้ามใบ ดอกสีแดง กลีบเลี้ยงแยกเป็น 2 ส่วน (ภาพ: cultivated - RP) ด้านนอก เส้าเกสรยาว 4-8 ซม. เกลี้ยง อับเรณูกระจายเฉพาะช่วงบน ผลรูปไข่ ยาว
ประมาณ 2.5 ซม. ปลายเป็นจะงอย
ชงโคภูคา มีถิ่นก�าเนิดในประเทศจีน เป็นดอกไม้ประจ�าชาติมาเลเซีย มีการปรับปรุงพันธุ์
Phanera wallichii (J. F. Macbr.) Thoth. และผสมข้ามพันธุ์ท�าให้มีหลากสี หรือใบด่าง ต้นที่ดอกซ้อนถูกจ�าแนกเป็น var.
วงศ์ Fabaceae rubroplenus Sweet มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
ชื่อพ้อง Bauhinia wallichii J. F. Macbr.
เอกสารอ้างอิง
ไม้เถาเนื้อแข็ง หูใบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 5 มม. ใบด้านกว้างยาวกว่า Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.
ด้านยาว ยาว 6-14 ซม. ปลายเรียบหรือแฉกตื้น ๆ ปลายแฉกแหลม โคนรูปหัวใจ 12: 289.
เส้นโคนใบข้างละ 4-5 เส้น ก้านใบยาว 3-6 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาวได้
ถึง 20 ซม. แยกแขนงสั้น ๆ ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 3 มม. มีขนด้านนอก
ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ใบประดับย่อยติดเหนือกึ่งกลางก้านดอก ตาดอกรูปไข่
ยาวประมาณ 1 ซม. ฐานดอกเบี้ยว มีริ้ว ยาว 5-7 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ปลายกลีบมน
ยาวประมาณ 4 มม. กลีบดอกรูปไข่หรือเกือบกลม ยาว 5-8 มม. มีขนสีน�้าตาลคล้าย
เส้นไหมหนาแน่น เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 2 ซม. เกสรเพศผู้
ที่เป็นหมันมี 5-7 อัน ยาว 3-4 มม. รังไข่มีขนสีน�้าตาลหนาแน่น มีก้านสั้น ๆ
ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.5-1 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แสลงพัน, สกุล) ชบา: ขอบใบจักซี่ฟัน อับเรณูกระจายเฉพาะช่วงบน มีทั้งต้นใบด่าง และกลีบดอกซ้อน (ภาพ: cultivated - RP)
125
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 125 3/1/16 5:25 PM