Page 144 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 144
ชงโค
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ชงโคดอกเหลือง
Bauhinia tomentosa L.
วงศ์ Fabaceae
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ และตาดอก
หูใบรูปแถบ ยาว 0.5-1 ซม. ใบกว้างกว่าด้านยาว เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-8 ซม.
แฉกลึกเกือบกึ่งหนึ่ง ปลายแฉกกลม เส้นโคนใบข้างละ 3-4 เส้น ก้านใบยาว 1-3 ซม.
ช่อดอกแบบช่อกระจะออกสั้น ๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านดอกยาวประมาณ
1 ซม. ใบประดับย่อยติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ตาดอกรูปกระสวย ยาวประมาณ 2 ซม.
ฐานดอกสั้น ดอกห้อยลงรูประฆัง สีเหลืองหรือสีม่วงอมชมพู มี 1 กลีบมีปื้นสี
ม่วงเข้มที่โคนกลีบด้านใน กลีบรูปไข่กลับ ยาว 4-5 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาว
1-2 ซม. โคนก้านชูอับเรณูมีขน รังไข่มีขนยาว ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ
1.5 ซม. ฝักรูปแถบ ยาว 7-15 ซม. มีขนก�ามะหยี่ ปลายเป็นจะงอย แตกอ้าออก
ชงโค: B. purpurea ตาดอกรูปกระบอง มีสันนูน เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 3 อัน ฝักรูปแถบ (ภาพซ้ายและภาพขวาบน: บิดงอ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชงโค, สกุล)
ตาก - RP); ชงโค: Bauhinia x blakeana เกสรเพศผู้มี 5 อัน เป็นหมัน (ภาพขวาล่าง: cultivated - RP)
เข้าใจว่ามีถิ่นก�าเนิดในเอเชียเขตร้อน ซึ่งอาจเป็นอินเดีย เป็นไม้ประดับทั่วไป
ชงโค ในเขตร้อน เปลือกให้น�้าฝาดแก้บิด ตับอักเสบ
Phanera glauca Benth.
วงศ์ Fabaceae ชงโคดำา
ชื่อพ้อง Bauhinia glauca (Wall. ex Benth.) Benth. Bauhinia pottsii G. Don
ไม้เถา หูใบรูปแถบ ยาวประมาณ 4 มม. ใบรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม ยาว ไม้พุ่มรอเลื้อย มีขนสีน�้าตาลแดงตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ตาดอก และฝัก
4-9 ซม. แฉกลึกไม่เกินกึ่งหนึ่ง แผ่นใบด้านล่างมีขน เส้นโคนใบข้างละ 3-5 เส้น ใบรูปไข่กว้างเกือบกลม ยาว 9-15 ซม. แฉกลึกถึงประมาณกึ่งหนึ่ง ปลายแฉกกลม
ก้านใบยาว 2-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ใบประดับรูปแถบ ยาวประมาณ เส้นโคนใบข้างละ 5-7 เส้น ก้านใบยาว 3-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาวได้ถึง
5 มม. ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับย่อยติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก ตาดอก 10 ซม. ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. ใบประดับย่อยติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก
รูปไข่ ฐานดอกเป็นริ้ว ยาว 0.7-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงแยกเป็น 2-3 ส่วน ดอกสีขาว ตาดอกรูปใบหอก ยาว 3-4 ซม. ฐานดอกยาวเท่า ๆ ตาดอก กลีบเลี้ยงพับงอกลับ
กลีบรูปไข่กลับ ยาว 0.8-1.2 ซม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ยาวเท่า ๆ กลีบดอก อับเรณู ดอกสีแดงอมชมพู มีปื้นสีเหลืองตรงกลาง กลีบรูปใบหอก ยาว 4-6 ซม. เกสรเพศผู้
สีแดง เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 7 อัน 2 อันขนาดเล็กอยู่ระหว่างเกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 3 อัน ยาว 3-4.5 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 2 อัน รังไข่และก้านเกสรเพศเมีย
อีก 5 อันเชื่อมติดกันที่โคน รังไข่เกลี้ยง ยอดเกสรเพศเมียเบี้ยว ฝักรูปใบหอก แบน มีขนยาวสีน�้าตาลแดง ฝักแบน หนา ช่วงปลายกว้าง มีจะงอยสั้น ๆ มี 4-6 เมล็ด
ยาว 18-25 ซม. มี 10-30 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แสลงพัน, สกุล) (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชงโค, สกุล)
พบที่อินเดีย พม่า คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบทางภาคใต้ ขึ้น พบที่พม่า คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ของไทยที่นครศรีธรรมราช
กระจายห่าง ๆ ตามชายป่าดิบชื้น ความสูงประมาณ 100 เมตร แยกเป็น subsp. สุราษฎร์ธานี สตูล และนราธิวาส ขึ้นตามชายป่าดิบชื้นระดับต�่า ๆ สีของดอกมีความ
tenuiflora (C. B. Clarke) A. Schmitz ปลายใบแฉกตื้น ๆ ช่อดอกและดอก ผันแปรสูง แยกเป็นกลุ่มดอกสีส้มอมเหลือง ชงโคไฟ var. velutina (Wall. ex Benth.)
ขนาดใหญ่กว่า ฐานดอกยาวกว่า พบที่พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน ในไทย K. Larsen & S. S. Larsen และ var. mollissima (Wall. ex Prain) K. Larsen &
พบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ S. S. Larsen และกลุ่มดอกสีขาว ชงโคขาว var. subsessilis (Craib) de Wit และ
var. decipiens (Craib) K. Larsen & S. S. Larsen ซึ่งแต่ละพันธุ์ในกลุ่มคล้ายกัน
เอกสารอ้างอิง ยากในการจ�าแนก โดยเฉพาะ var. decipiens ที่พบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae. ซึ่งพบ var. subsessilis กระจายหนาแน่นด้วยเช่นกัน
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 40-42.
ชงโคแดง
Bauhinia galpinii N. E. Br.
ไม้พุ่มรอเลื้อย หูใบมี 1 คู่ รูปลิ่มแคบขนาดเล็ก ใบรูปไข่กว้าง กว้าง 2-7 ซม.
ยาว 1-5.5 ซม. ปลายแฉกไม่ถึงกึ่งหนึ่ง ปลายแฉกมนกลม แผ่นใบด้านล่างมีนวล
เส้นโคนใบข้างละ 3 เส้น ก้านใบยาว 0.8-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออก
ตรงข้ามใบ ก้านช่อหนา ยาว 0.5-1 ซม. มี 2-10 ดอก ก้านดอกยาว 2-3.5 ซม.
กลีบเลี้ยงพับงอกลับ ดอกสีแดงเข้ม ขนาดไม่เท่ากัน กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว
3-4.5 ซม. ก้านกลีบรูปเส้นด้ายยาวประมาณ 1.5 ซม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ยาวประมาณ
ชงโค: P. glauca subsp. glauca ดอกออกเป็นช่อเชิงหลั่น กลีบเลี้ยงแยกเป็น 2-3 ส่วน ดอกสีขาว กลีบรูปไข่กลับ 3 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน มี 2-3 อัน รังไข่มีขนละเอียด ฝักรูปขอบขนาน ยาว
มีก้านกลีบ เกสรเพศผู้มี 3 อัน อับเรณูสีแดง ฝักรูปใบหอก แบน (ภาพ: สุราษฎร์ธานี - RP) 8-10 ซม. แบน ปลายเป็นจะงอย มี 3-5 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชงโค, สกุล)
มีถิ่นก�าเนิดในแอฟริกาทางตอนใต้แถบประเทศซิมบับเว แซมเบีย โมซัมบิก
สวาซิแลนด์ และแอฟริกาใต้ เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน ค�าระบุชนิดตั้งตาม
นักพฤกษศาสตร์ชาวแอฟริกาใต้ Ernest Edward Galpin (1858-1941)
เอกสารอ้างอิง
Boonkerd, T., S. Saengmanee and B.R. Baum. (2004). The varieties of
Bauhinia pottsii G. Don in Thailand (Leguminosae-Caesalpinioideae). Plant
Systematics and Evolution 232: 51-62.
Brummitt, R.K., A.C. Chikuni, J.M. Lock and R.M. Polhill. (2007). Leguminosae
subfamily Caesalpinioideae. Flora of Zimbabwe 3(2): 25-26.
ชงโค: P. glauca subsp. tenuiflora ช่อดอกและดอกมีขนาดใหญ่กว่า ฐานดอกยาวกว่า ปลายใบแฉกตื้น ๆ Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
(ภาพดอก: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - RP; ภาพผล: ดอยภูคา น่าน - TB) In Flora of Thailand Vol. 4(1): 9-11, 14.
124
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 124 3/1/16 5:24 PM