Page 155 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 155

ช้าส้าน, สกุล                                                  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ช�ำมะนำด
                    Saurauia Willd.
                    วงศ์ Actinidiaceae
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น กิ่งมักกลวง ใบเรียงเวียน ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย ดอกออก
                    เป็นกระจุก ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง
                    ซอกใบ บนกิ่ง หรือตามล�าต้น สมบูรณ์เพศหรือคล้ายมีเพศเดียว ใบประดับย่อยมี
                    2 ใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบเลี้ยงติดทน   ช้าสามแก้ว: ช่อดอกออกเป็นกระจุกบนกิ่ง กลีบดอกเรียงซ้อนเหลื่อม รูประฆังกว้าง เกสรเพศเมีย 3-4 อัน ติดทน
                    เกสรเพศผู้ 15 อันหรือมีจ�านวนมาก ติดที่โคนหลอดกลีบดอก อับเรณูปลายมีรูเปิด   (ภาพ: น�้าตกรามัญ ยะลา - SSi)
                    รังไข่ส่วนมากมี 3-5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียส่วนมากมี 3 หรือ 5 อัน โคนเชื่อมติดกัน   ชาหอม
                    ผลสด หรือคล้ายเป็นหนังหนาแห้งแตกออกด้านบน เมล็ดจ�านวนมาก ขนาดเล็ก
                                                                        Osyris lanceolata Hochst. & Steud.
                       สกุล Saurauia เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Saurauiaceae มีประมาณ 300 ชนิด ส่วนใหญ่  วงศ์ Santalaceae
                       พบในอเมริกาและเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 5-6 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามผู้สนับสนุน  ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. แยกเพศต่างต้น กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยมหรือมีครีบ ใบเรียงเวียน
                       ด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรีย Friedrich von Saurau เพื่อนของ   รูปรีถึงแกมรูปขอบขนาน ยาว 1-4 ซม. ปลายมีติ่งหนามสั้น ๆ แผ่นใบบางครั้งมีนวล
                       Carl Ludwig Willdenow นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน    ช่อดอกออกตามซอกใบ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ แยกแขนง มี 8-10 ดอก
                                                                        มักแยกเป็นกลุ่มละ 3 ดอก ก้านช่อเป็นเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 ซม. ใบประดับ
                    ช้าส้าน                                             รูปใบหอก ยาวประมาณ 1 มม. ดอกสีเขียว กลีบรวม 3 กลีบ รูปไข่กว้าง ยาว 1-2 มม.
                    Saurauia napaulensis DC.                            มีเส้นกลางกลีบ เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดที่โคนกลีบ ก้านชูอับเรณูสั้นมาก เป็นหมันใน
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขุย เกล็ด และขนสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน   ดอกเพศเมีย ดอกเพศเมียออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ มีดอกเดียว ก้านช่อสั้นกว่าช่อเพศผู้
                    ก้านใบ ช่อดอก และใบประดับ ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว   เล็กน้อย ก้านดอกยาว 3-4 มม. ใบประดับมี 3 อัน ยาวประมาณกึ่งหนึ่งของกลีบรวม
                    15-35 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาล เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ก้านใบยาว   บิดไปมา กลีบรวมยาวเท่า ๆ กับของดอกเพศผู้ ปลายมีติ่งด้านใน ก้านเกสรเพศเมีย
                    2-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบ ช่อยาว 15-35 ซม.   สั้นมาก ยอดเกสรมี 3 แฉก มีต่อมน�้าต้อย รังไข่ใต้วงกลีบ ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี
                    ใบประดับยาว 3-5 มม. ก้านดอกยาว 1-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ยาว 3-5 มม.   ยาว 5-6 มม. สุกสีแดงอมส้ม
                    ดอกสีชมพู ยาว 6-8 มม. หลอดกลีบดอกยาว 3-4 มม. ปลายกลีบพับงอกลับ   พบทางตอนใต้ของยุโรป แอฟริกา อินเดีย จีน พม่า และเวียดนาม ในไทยพบ
                    เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย  ทางภาคเหนือที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และดอยหัวหมด จังหวัดตาก ขึ้นตาม
                    มี 3-5 อัน ติดทน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม.  ที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 1000-2000 เมตร ใบใช้ชงแทนใบชาได้
                       พบที่อินเดีย เนปาล พม่า จีนตอนใต้ และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจาย  สกุล Osyris L. มีเพียง 2 ชนิด อีกชนิดคือ O. speciosa (A. W. Hill) J. C. Manning
                    แทบทุกภาค แต่ส่วนมากพบมากทางภาคเหนือ ขึ้นตามชายป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา   & Goldblatt เป็นพืชถิ่นเดียวของแอฟริกาใต้ ชื่อสกุลอาจมาจากภาษากรีก “ozos”
                    ความสูง 700-2200 เมตร รากมีสรรพคุณแก้ปวดท้อง ขับพิษ
                                                                           กิ่ง ตามลักษณะวิสัยที่แตกกิ่งจำานวนมาก
                    ช้าสามแก้ว                                            เอกสารอ้างอิง
                    Saurauia pentapetala (Jack) Hoogland                   Macklin, J. and J. Parnell. (2005). Santalaceae (Osyris). In Flora of Thailand
                                                                              Vol. 9(1): 68-72.
                      ชื่อพ้อง Ternstroemia pentapetala Jack
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. มีขนสีน�้าตาล ปุ่มเล็ก ๆ ตามกิ่งอ่อน ก้านใบ
                    แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปไข่กลับหรือรูปขอบขนาน
                    ยาว 7-30 ซม. ขอบใบจักฟันเลื่อย มีขนแข็ง ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอกออกเป็น
                    ช่อกระจุกตามซอกใบ ตามปุ่มบนกิ่ง แต่ละช่อมี 1-10 ดอก ก้านดอกยาว 1-2 ซม.
                    กลีบเลี้ยงรูปไข่กลับ ยาว 0.3-1 ซม. ดอกรูประฆังกว้าง สีขาวหรือสีชมพูอ่อน ยาว
                    0.6-1 ซม. กลีบรูปไข่ ปลายพับงอ ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. รังไข่เกลี้ยง
                    ก้านเกสรเพศเมียมี 3-4 อัน ติดทน ผลรูปรีกว้าง กว้าง 6-8 มม. ยาว 5-6 มม.
                       พบที่คาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคตะวันออกที่เขาใหญ่ จังหวัด
                    ปราจีนบุรี และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้น ริมล�าธารหรือที่ลาดชัน ความสูงถึงประมาณ
                    800 เมตร ในหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทยระบุว่าเป็น S. tristyla DC.
                      เอกสารอ้างอิง
                       Keng, H. (1972). Saurauiaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 109-111.
                       Li, J., X. Li and D. Doel Soejarto. (2007). Actinidiaceae. In Flora of China Vol.   ชาหอม: ช่อดอกเพศผู้แบบช่อกระจุกสั้น ๆ แยกแขนง มักแยกเป็นกลุ่มละ 3 ดอก ก้านช่อเป็นเหลี่ยม ดอกเพศเมีย
                          12: 356, 358.                                 ออกเป็นช่อเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ มีดอกเดียว ผลสุกสีแดงอมส้ม (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - PK)
                       Rafidah, A.R. (2013). Actinidiaceae. In Flora of Peninsular Malaysia. Vol. 4: 5-24.
                                                                        ชำามะนาด, สกุล
                                                                        Vallaris Burm. f.
                                                                        วงศ์ Apocynaceae
                                                                           ไม้เถา น�้ายางขาว กิ่งมีช่องอากาศ ใบเรียงตรงข้าม มีต่อมตามซอกใบ ช่อดอก
                                                                        แบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ
                                                                        5 กลีบ ดอกรูปกรวย กลีบเรียงซ้อนทับกันด้านขวาในตาดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน
                                                                        แนบติดปลายเกสรเพศเมีย จุดติดบนหลอดกลีบมีขน ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ
                                                                        ก้านชูอับเรณูสั้น ปลายก้านเป็นกระเปาะกลม อับเรณูรูปหัวลูกศร จานฐานดอกจัก
                                                                        5 พู มี 2 คาร์เพลแยกกัน ปลายเชื่อมติดกันเรียวจรดก้านเกสรเพศเมีย มีขนสั้นนุ่ม
                      ช้าส้าน: แผ่นใบด้านล่างมีขนสีน�้าตาล ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบ (ภาพ: เชียงใหม่ - RP)  ผลแตกแนวเดียวออกเป็นคู่ มักลดรูปมีผลเดียว เมล็ดจ�านวนมาก ปลายมีจุกขน

                                                                                                                    135






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   135                                                                 3/1/16   5:28 PM
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160