Page 158 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 158
ชุมเห็ดเล็ก
ชุมเห็ดเล็ก สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Senna occidentalis (L.) Link
ชื่อพ้อง Cassia occidentalis L.
ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2.5 ม. หูใบเป็นขนแข็ง ยาว 1-2 ซม. ใบประกอบ
มีใบย่อย 3-5 คู่ แกนใบประกอบยาว 8-12 ซม. ก้านยาว 3-4 ซม. มีต่อมรูปไข่
ใกล้โคนใบ ใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน เบี้ยว ยาว 4-10 ซม. ปลายแหลมยาว
โคนกลม ก้านใบยาวประมาณ 2 มม. ช่อดอกสั้น มี 2-4 ดอก ใบประดับรูปแถบ
ขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงกลีบนอกกลม ยาวประมาณ 6 มม.
กลีบในรูปไข่ ใหญ่กว่าเล็กน้อย กลีบดอกรูปไข่ กลีบคู่นอกยาว 1-2 ซม. เกสรเพศผู้ ชุมเห็ดเล: โคนใบเรียวสอบเป็นก้านใบ ผลแห้งแตก รูปหัวใจกลับ มีปีก (ภาพ: ชุมพร - PK)
อันยาว 2 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 5-6 มม. อับเรณูยาว 5-7 มม. อันสั้น 4 อัน
ก้านชูอับเรณูยาว 2-3 มม. อับเรณูยาว 5-6 มม. ลดรูป 3-4 อัน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม โชน
ฝักรูปแถบ ยาว 10-12 ซม. เมล็ดแบน ยาว 3-4 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ขี้เหล็ก, สกุล) Dicranopteris curranii Copel.
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ เป็นวัชพืชในเขตร้อน มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง วงศ์ Gleicheniaceae
เมล็ดใช้ชงแทนใบชา จึงมีชื่อสามัญว่า Coffea senna หรือ Coffee weed
เฟินขึ้นบนพื้นดิน เหง้าทอดนอนแยกสองแฉก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม.
เอกสารอ้างอิง ปลายเหง้ามีเกล็ดรูปโล่ ยอดอ่อนมีขนสีน�้าตาลแดงหนาแน่น ใบแตกออกจากล�าต้น
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae. ห่าง ๆ กัน ก้านใบส่วนมากยาวมากกว่า 1 ม. ส่วนโคนอวบอ้วน แยกเป็นใบย่อย
(Cassia). In Flora of Thailand Vol. 4(1): 108-110, 113-115, 117-119.
2-3 ครั้ง เท่า ๆ กัน ระหว่างง่ามมีตา ก้านสั้นหรือไร้ก้าน แผ่นใบรูปขอบขนาน
กว้าง 8-20 ซม. ยาว 20-50 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนเรียวแคบ จักลึกเป็นพูรูปแถบ
ปลายมน กลม หรือเว้าตื้น กว้างประมาณ 5 มม. ยาวได้ถึง 7 ซม. ขอบเรียบ
เส้นใบแตกเป็นง่าม กลุ่มอับสปอร์กลม เรียงเป็นแถวระหว่างเส้นใบข้างละแถว
พบที่ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยพบที่เขาใหญ่ จังหวัดนครนายก
ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่แก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี และภาคใต้ ขึ้นตามป่าพรุ
หรือชายป่าดิบชื้น และที่โล่งข้างถนน ท�าให้มีชื่อสามัญว่า Roadside fern
สกุล Dicranopteris Bernh. มีมากกว่า 10 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน
ในไทยมี 4 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dikranos” แยกสองง่าม และ
ชุมเห็ดเทศ: หูใบรูปติ่งหู ช่อดอกแคบ กลีบดอกรูปช้อน ฝักรูปแถบ มีปีกกว้าง (ภาพ: cultivated - RP) “pteris” เฟิน ตามลักษณะใบ
เอกสารอ้างอิง
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1979). Gleicheniaceae. In Flora of Thailand 3(1): 54-56.
ชุมเห็ดไทย: ปลายใบกลม มีติ่งแหลม กลีบดอกขนาดไม่เท่ากัน เกสรเพศผู้ 7 อัน ยาวเท่า ๆ กัน (ภาพซ้าย:
สุราษฎร์ธานี - RP); ชุมเห็ดเล็ก: ปลายใบแหลมยาว เกสรเพศผู้อันยาว 2 อัน (ภาพขวา: ระโนด สงขลา - RP)
ชุมเห็ดเล
Dodonaea viscosa Jacq.
วงศ์ Sapindaceae
ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น สูงได้ถึง 8 ม. กิ่งเกลี้ยง มีต่อมเหนียวกระจาย ใบเดี่ยว เรียงเวียน โชน: ใบแยก 2-3 ครั้ง กลุ่มอับสปอร์กลม เรียงเป็นแถวระหว่างเส้นใบข้างละแถว (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 5-15 ซม. ปลายกลมหรือแหลมสั้น ๆ
โคนเรียวสอบเป็นก้านใบ ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามซอกใบ ซ้อ, สกุล
ยาวได้ถึง 3.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5-7 กลีบ แยกจรดโคน รูปรี ยาวประมาณ 3 มม. ไม่มี Gmelina L.
กลีบดอก หลังร่วงเห็นรอยชัดเจนในผล เกสรเพศผู้เท่าจ�านวนกลีบเลี้ยง ก้านชูอับเรณู
สั้นมาก อับเรณูยาวประมาณ 1.8 มม. รังไข่มี 2-3 ช่อง มีต่อมเหนียวหนาแน่น วงศ์ Lamiaceae
แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 6 มม. ยอดเกสรจัก 2-3 พู ไม้ต้น ไม้พุ่ม หรือไม้เลื้อย กิ่งมีขนสั้นนุ่มหรือมีหนาม ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก
ผลแห้งแตก รูปหัวใจกลับ ยาว 1.5-2 ซม. มีปีกกว้าง 1-4 มม. แต่ละช่องมี 1-2 เมล็ด เรียบหรือจักเป็นพู มักมีต่อมที่โคนใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือช่อแยกแขนง ช่อ
รูปคล้ายเลนส์ สีด�า ขนาดประมาณ 3 มม. แยกแขนงสลับตั้งฉาก ใบประดับคล้ายใบ ร่วงเร็วหรือติดทน กลีบเลี้ยงรูปถ้วย แยก
พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ 4-5 แฉก หรือจักตื้น ๆ มักขยายในผล ส่วนมากมีต่อม ดอกรูปแตร กลีบดอกไม่สมมาตร
ขึ้นตามชายฝั่งทะเล หรือบนเขาหินปูน ความสูงไม่เกิน 100 เมตร ส่วนต่าง ๆ มี หลอดกลีบโป่งข้างเดียว กลีบปากบน 2 กลีบหรือเรียบ กลีบปากล่าง 3 กลีบ
สรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง กลีบกลางขนาดใหญ่กว่ากลีบข้าง เกสรเพศผู้สั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ติดใกล้โคน
หลอดกลีบ อับเรณูกางออก แตกตามยาว รังไข่มี 2-4 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียส่วนมาก
สกุล Dodonaea Mill. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Dodonaeoideae มีประมาณ 65 ชนิด แยก 2 แฉก ไม่เท่ากัน ผลสดมีผนังชั้นในแข็ง ส่วนมากมี 1-4 เมล็ด บางเมล็ดฝ่อ
ส่วนมากพบในออสเตรเลีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามแพทย์ชาว Flemish
ที่อยู่ในเบลเยียมในปัจจุบัน Rembert Dodoens (1517/1518-1585) สกุล Gmelina เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Verbenaceae มีประมาณ 35 ชนิด ส่วนมากพบ
ในเอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 7-8 ชนิด และพบเป็นไม้ประดับ 1 ชนิด คือ
เอกสารอ้างอิง ซ้องแมว G. philippensis Cham. มีถิ่นกำาเนิดในฟิลิปปินส์ ช่อดอกห้อยลง ชื่อสกุล
van Welzen, P.C.. (1999). Sapindaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 195-197.
Xia, N. and P.A. Gadek. (2007). Sapindaceae. In Flora of China Vol. 12: 7. ตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Johann Georg Gmelin (1709-1755)
138
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 138 3/1/16 5:28 PM