Page 163 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 163

ดอกไม้จีน
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่นราธิวาส ขึ้นตาม
                                                                        ป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 450 เมตร เบียนราก Tetrastigma pedunculare
                                                                        (Wall. ex M. A. Lawson) Planch. และ T. papillosum Planch. ค�าระบุชนิด
                                                                        หมายถึงการตายของตัวอ่อนของแมลงหลังผสมเกสร
                                                                           สกุล Rhizanthes Dumort. มี 4 ชนิด พบที่คาบสมุทรมลายู ชวา สุมาตรา และ
                                                                           บอร์เนียว ในไทยมีชนิดเดียว ส่วน บัวครั่ง R. zippelii (Blume) Spach ที่เคยระบุ
                                                                           ว่าพบในไทยด้วยเป็นพืชถิ่นเดียวของชวา ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “rhiza” ราก
                                                                           และ “anthos” ดอก หมายถึงพืชที่ดอกออกจากราก
                      ดอกบัลลูน: ใบออกเป็นวงรอบข้อ ขอบจักฟันเลื่อย ดอกรูปถ้วยหรือรูประฆังกว้าง สีม่วง ยอดเกสรเพศเมียแยก 5 แฉก
                    ผลรูปกรวยกลับ (ภาพ: cultivated; ภาพดอก - RP, ภาพผล - SSi)  เอกสารอ้างอิง
                                                                           Bänziger, H. and B. Hansen. (2000). A new taxonomic revision of a deceptive
                    ดอกผักบุ้ง                                                flower, Rhizanthes Dumortier (Rafflesiaceae). Natural History Bulletin of
                    Ipomoea purpurea (L.) Roth                                Siam Society 48: 117-143.
                    วงศ์ Convolvulaceae
                      ชื่อพ้อง Convolvulus purpureus L.
                       ไม้เถาล้มลุก ยาว 2-3 ม. มีขนหยาบกระจายตามกิ่ง แผ่นใบ ใบประดับ และ
                    กลีบเลี้ยง ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้าง เรียบหรือจัก 3 พู ยาว 4-18 ซม. โคนรูปหัวใจ
                    ก้านใบยาวได้ถึง 12 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก มี 1-5 ดอก ก้านช่อยาว 4-12 ซม.
                    ใบประดับรูปแถบ ยาว 6-7 มม. ก้านดอกยาว 1.2-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงยาว 1-1.5 ซม.
                    3 กลีบนอกรูปขอบขนาน กลีบคู่ในรูปใบหอก ดอกรูปแตร สีม่วงอมแดง ยาว
                    4-6 ซม. หลอดกลีบดอกสีขาว เกสรเพศผู้ยาวไม่เท่ากัน อันยาวจรดประมาณ
                    กึ่งกลางหลอดกลีบดอก โคนก้านชูอับเรณูมีขน รังไข่เกลี้ยง ยอดเกสรจัก 3 พู
                    ผลแห้งแตก เส้นผ่านศูนย์ประมาณ 1 ซม. มี 3 ซีก เมล็ดขนาดเล็กรูปสามเหลี่ยมมน
                       มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกากลางและอเมริกาเหนือ เป็นไม้ประดับหรือเป็นวัชพืช
                      เอกสารอ้างอิง
                       Fang, R. and G. Staples. (1995). Convolvulaceae. In Flora of China Vol. 16: 305.  ดอกแมงกระพรุน: ถิ่นที่อยู่ในป่าดิบชื้น ดอกรูประฆังหงาย กลีบรวม 16 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ มีขนหนาแน่น
                                                                        ปลายกลีบมีรยางค์แข็ง ยาวคล้ายหาง ดอกแก่บานออก (ภาพ: นราธิวาส - HB)
                                                                        ดอกไม้จีน
                                                                        Hemerocallis lilioasphodelus L.
                                                                        วงศ์ Xanthorrhoeaceae
                                                                           ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 80 ซม. มีเหง้าสั้น ยุบในหน้าหนาว ใบออกที่โคน เรียงสลับ
                                                                        ระนาบเดียว รูปแถบ ยาว 20-70 ซม. ไร้ก้าน ก้านช่อส่วนมากสั้นกว่าใบ ช่อดอก
                                                                        แบบช่อกระจุกวงแถวเดียวแยกแขนง มี 2-5 ดอก ใบประดับรูปใบหอก ยาว
                                                                        2-8 ซม. ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ดอกรูปล�าโพงสีเหลือง ดอกบานช่วงบ่ายมีกลิ่นหอม
                                                                        หลอดกลีบดอกยาว 1.5-2.5 ซม. ปลายแยกเป็น 6 กลีบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
                                                                        ยาว 5-7 ซม. กลีบวงในกว้างกว่าวงนอก เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก
                                                                        ก้านชูอับเรณูยาว 5-5.5 ซม. อับเรณูสีเหลืองหรือมีสีม่วงด�าด้านบน ยาวประมาณ
                                                                        8 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตกเป็น
                      ดอกผักบุ้ง: ใบจักเป็นพู กลีบเลี้ยงมีขนหยาบ ดอกรูปแตร สีม่วงอมแดง หลอดกลีบสีขาว (ภาพ: cultivated - RP)  3 ซีก รูปรี ยาวประมาณ 2.5 ซม. เมล็ดเรียง 2 แถวในแต่ละช่อง
                    ดอกแมงกระพรุน                                          มีถิ่นก�าเนิดในจีน เกาหลี มองโกเลีย และรัสเซีย เป็นไม้ประดับ ดอกอ่อนน�า
                    Rhizanthes infanticida Bänziger & B. Hansen         ไปนึ่งอบแห้งใช้ปรุงอาหาร
                    วงศ์ Rafflesiaceae                                     สกุล Hemerocallis L. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Liliaceae มีประมาณ 15 ชนิด ส่วนมาก
                       พืชเบียน ไม่มีคลอโรฟิลล์ อาศัยตามรากของพืชอาศัย ดอกและล�าต้นออก  พบในเอเชียตะวันออก มีหลายชนิดนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ ชื่อสกุลมาจาก
                    จากหัวใต้ดิน ดอกมีเพศเดียว มีกลิ่นเหม็น กาบรูปถ้วย โคนมีเกล็ดรูปไข่เรียง   ภาษากรีก “hemera” วัน และ “kallos” สวย หมายถึงดอกบานวันเดียว
                    3-4 วง แต่ละวงมี 5 เกล็ด ดอกตูมรูปขอบขนานแกมรูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง   เอกสารอ้างอิง
                    4.7-6.5 ซม. ดอกรูประฆังหงาย หลอดกลีบสั้น กลีบสีเหลืองซีด ปลายสีเข้มถึง  Chen, X. and J. Noguchi. (2000). Liliaceae (Hemerocallis). In Flora of China
                    สีน�้าตาล กลีบรวม 16 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 5-10 ซม. เรียงจรดกัน   Vol. 24: 161-162.
                    ปลายกลีบมีรยางค์แข็ง ยาวคล้ายหาง ยาว 2.5-5 ซม. ในดอกเพศเมียสั้นกว่าเล็กน้อย
                    มีริ้วตามแนวรัศมี มีขนและแผ่นเกล็ดบางแตกแขนง (ramenta) สีน�้าตาลเข้ม
                    หนาแน่น ขนยาว 0.6-1 ซม. ปลายเป็นตะขอแยกแขนง แผ่นเกล็ดยาว 0.5-2 มม.
                    กระเปาะเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.3-1.7 ซม. ในดอกเพศผู้ ในดอกเพศเมียขนาดใหญ่
                    กว่าเล็กน้อย ด้านนอกมีขนยาว 3-6 มม. เกลี้ยงหรือมีขนประปราย เส้าเกสรยาว
                    1.2-2.2 ซม. กลางเส้าเกสรกลม ยอดเป็นกระเปาะสีน�้าตาลแกมชมพู มีช่องเปิด
                    มีขน อับเรณูจ�านวนมาก เรียงเป็นวงแหวน มี 2 ช่อง ซ้อนกัน ลดรูปในดอกเพศเมีย
                    ติดเป็นแถวเล็ก ๆ ก้านเกสรเพศเมียยาว 4.5-7 มม. ยอดเกสรเพศเมียคล้ายพังผืด   ดอกไม้จีน: ก้านช่อส่วนมากสั้นกว่าใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกวงแถวเดียวแยกแขนง กลีบวงในกว้างกว่าวงนอก
                    กว้าง 6.5-9.5 มม.                                   เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก (ภาพ: cultivated - RP)

                                                                                                                    143






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   143                                                                 3/1/16   5:29 PM
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168