Page 168 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 168

ด�ำตะโก


                ดำาตะโก             สารานุกรมพืชในประเทศไทย          ดุสิตา
                Diospyros wallichii King & Gamble                    Utricularia delphinioides Thorel ex Pellegr.
                วงศ์ Ebenaceae                                       วงศ์ Lentibulariaceae
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน และแผ่นใบด้านล่าง   ไม้ล้มลุกกินแมลง ไหลเป็นเส้นรูปเส้นด้าย ใบออกจากไหล รูปแถบ ยาวได้
                ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 12-40 ซม. ปลายแหลมหรือมีติ่งแหลม   ถึง 2.5 ซม. กับดักแมลงติดบนไหลและใบรูปกระเปาะกลม ๆ ยาว 1-2 มม. ช่อดอก
                โคนรูปลิ่มกว้าง หรือเว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ 12-30 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 1.5 ซม.   แบบช่อกระจะ ออกเดี่ยว ๆ ตั้งตรง เกลี้ยง สูงได้ถึง 53 ซม. ใบประดับติดที่โคน
                ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ก้านดอกยาว 1.5-3 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง   มี 1-15 ดอก ก้านดอกยาวได้ถึง 1.2 ซม. มีปีกแคบ ๆ กลีบเลี้ยงแฉกลึก รูปไข่แคบ
                ยาว 3-4 มม. ส่วนมากมี 4 กลีบ แฉกตื้น ๆ ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ด้านในมีขนละเอียด   ยาว 6-8 มม. ดอกสีม่วงเข้ม ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบล่างมีเดือยรูปลิ่ม ยาว 5-7 มม.
                ดอกรูปดอกเข็ม ยาว 0.8-1.2 ซม. ส่วนมากมี 4 กลีบ เกสรเพศผู้มี 14-18 อัน   ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 2 มม. ผลรูปรี ยาว 3-4 มม. เมล็ดผิวเรียบ (ดูข้อมูล
                รังไข่ที่ไม่เจริญมีขนยาว ดอกเพศเมียออกเป็นกระจุก 1-3 ดอก ผลรูปรีกว้าง ยาว   เพิ่มเติมที่ สร้อยสุวรรณา, สกุล)
                2-3 ซม. ก้านผลหนา ยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงหนา จักตื้น ๆ พับจีบ มีขนก�ามะหยี่
                หนาแน่น เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)  พบที่ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
                   พบที่พม่า คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว ภาคตะวันตกเฉียงใต้และภาคใต้  ภาคตะวันออก ขึ้นตามที่โล่งที่ชื้นแฉะบนลานหินทราย ในป่าสน และป่าเต็งรัง
                                                                     ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร แยกเป็น var. minor Pellegr. พืชถิ่นเดียวของไทย
                ของไทย ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร ผลใช้เบื่อปลา  พบที่เลย และตราด ต้นเตี้ยกว่า ดอกเรียงหนาแน่นที่ปลายช่อ และมีเดือยสั้นกว่า
                  เอกสารอ้างอิง
                   Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 383.  เอกสารอ้างอิง
                   Slik, J.W.F. (2009 onwards). Plants of Southeast Asia. http://www.asianplant.  Parnell, J. (2011). Lentibulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(1): 25-26.
                      net/Ebenaceae/Diospyros_wallichii.htm










                  ด�าตะโก: ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม
                ก้านผลและกลีบเลี้ยงหนา มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น (ภาพดอก: เกาะสุรินทร์ พังงา - SSi; ภาพผล: แว้ง นราธิวาส - MP)
                ดีหมี
                Cleidion javanicum Blume
                วงศ์ Euphorbiaceae                                    ดุสิตา: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกเดี่ยวๆ ดอกสีม่วง กลีบรูปปากเปิด กลีบล่างมีเดือยรูปลิ่ม มักขึ้นปะปนกับ
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก   สร้อยสุวรรณาที่ดอกสีเหลือง (ภาพ: ผาแต้ม อุบลราชธานี - PK)
                ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 8-27 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว   ดูกไก่
                2-8 ซม. ไม่มีกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้แบบช่อกระจะ ยาวได้ถึง 25 ซม. ก้านดอกยาว
                1-4 มม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปไข่ ยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณู  Prismatomeris griffithii Ridl.
                แบน สั้น อับเรณูเบี้ยว ช่อดอกเพศเมียมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 3-9 ซม. ปลายก้าน  วงศ์ Rubiaceae
                หนา กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาว 1.6-1.8 มม. ขอบจักชายครุย ยอดเกสรเพศเมีย  ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. หูใบรูปสามเหลี่ยมแคบ ขนาดเล็ก ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือ
                แยก 2 แฉก ติดทน ยาว 0.8-1.5 ซม. ผลแห้งแตก จัก 2 พู ถ้ามี 2 เมล็ด หรือกลม
                ถ้ามีเมล็ดเดียว เกลี้ยง เมล็ดรูปรีกว้าง ยาว 1.2-1.3 ซม.   รูปไข่กลับ ยาว 5-20 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนรูปลิ่ม แผ่นใบเกลี้ยง
                                                                     ก้านใบยาวได้ถึง 2 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม ออกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง มี 1-4 ดอก
                   พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย หมู่เกาะโซโลมอน   ไร้ก้าน หรือมีก้านสั้น ๆ ดอกมีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาว
                ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร  2-4 มม. ปลายแยกเป็น 4-5 แฉก รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ติดทน ดอกรูปดอกเข็ม
                                                                     สีขาว หนา หลอดกลีบยาว 1.5-3 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 มม. ปลายแยก
                   สกุล Cleidion Blume มีประมาณ 25 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกาใต้ ในไทยมี 2
                   ชนิด ชนิด C. brevipetiolatum Pax & K. Hoffm. พบบนเขาหินปูนทางภาคเหนือ   เป็น 4-5 กลีบ เรียวแคบ ยาว 1-2 ซม. โค้งบานออก เกสรเพศผู้ 4-5 อัน ติดเหนือ
                   รังไข่มี 3 ช่อง กลีบเลี้ยงขยายในผล และผลมีขนยาว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก   จุดกึ่งกลางหลอดกลีบ ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูยาว 3-4 มม. รังไข่ใต้วงกลีบ มี 2 ช่อง
                   “kleidion” กุญแจ ตามลักษณะของเกสรเพศผู้หรือก้านดอกเพศเมีย  แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว เกลี้ยงหรือมีปุ่มกระจาย ก้านเกสรเพศเมียแบบสั้น ยาว
                                                                     0.5-1 ซม. แบบยาว ยาว 1.3-2.5 ซม. ผลผนังชั้นในแข็ง สุกสีด�า
                  เอกสารอ้างอิง
                   van Welzen, P.C. and K. Kulju. (2005). Euphorbiaceae (Cleidion). In Flora of   พบที่พม่าตอนล่าง คาบสมุทรมลายูตอนบน ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้
                      Thailand Vol. 8(1): 164-167.                   ที่กาญจนบุรี และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้นหรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ
                                                                     600 เมตร
                                                                       สกุล Prismatomeris Thwaites อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Rubioideae เผ่า Morindeae
                                                                       มีประมาณ 15 ชนิด พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                                                                       และมาเลเซีย ในไทยมี 7 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “prismatos” รูปปริซึม
                                                                       และ “meris” ส่วน ตามลักษณะปลายกลีบดอกที่แหลม
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Craib, W.G. (1934). Rubiaceae. In Florae Siamensis Enumeratio 2(2): 182.
                                                                       Puff, C., K. Chayamarit and V. Chamchumroon. (2005). Rubiaceae of Thailand.
                                                                          Forest Herbarium. Bangkok.
                  ดีหมี: ขอบใบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว ผลเกลี้ยง มี 1-2 พู เกสรเพศเมียติดทน ปลายก้านผลหนา (ภาพ: พะวอ ตาก - PK)

                148






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   148                                                                 3/1/16   5:31 PM
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173