Page 167 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 167
ดำวเรืองป่ำ
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Clarkella Hook. f. อยู่วงศ์ย่อย Rubioideae แต่ยังไม่สามารถจัดจำาแนกใน
เผ่าใด ต้นคล้ายสกุล Ophiorrhiza ช่อดอกคล้ายสกุล Argostemma มีเพียงชนิดเดียว
ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวบริติช Charles Baron Clarke (1832-1906)
เอกสารอ้างอิง
Chen, T. and C.M. Taylor. (2011). Rubiaceae (Clarkella). In Flora of China Vol.
19: 89.
Puff, C. and K. Chayamarit. (2008). Additional to “Rubiaceae of Thailand. A
pictorial guide to indigenous and cultivated genera”. Thai Forest Bulletin
(Botany) 36: 70-73.
ดาวกระจายไต้หวัน: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น แยกแขนงแบบช่อเชิงหลั่น กลีบดอกวงนอกสีขาว วงในสีเหลือง
ผลแห้งเมล็ดล่อน มีขนยาว (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - MP)
ดาวเงินไทยทอง
Argostemma thaithongiae Sridith
วงศ์ Rubiaceae
ไม้ล้มลุก สูง 10-20 ซม. ล�าต้นอวบน�้า หูใบรูปไข่ ยาวได้ถึง 4 มม. ปลายแยก
2 แฉก ใบเรียงตรงข้าม 2-3 คู่ ใกล้ยอด แผ่นใบรูปรี ยาว 2-10 ซม. ช่อดอกแบบ
ช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ยอด ก้านช่อยาวได้ถึง 2.5 ซม. ใบประดับรูปสามเหลี่ยม
มี 1-2 คู่ ยาว 1.5-2 มม. เชื่อมติดกันที่โคน ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง
รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม. ดอกรูประฆัง หลอดกลีบยาว 3-4 มม. มี 5 กลีบ
รูปสามเหลี่ยม ยาว 3-4 มม. บานออก เกสรเพศผู้แยกกัน อับเรณูมีรูเปิดที่ปลาย
รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 4 มม. ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลกลม
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ประดับหิน, สกุล) ดาวน้อย: ใบช่วงโคนขนาดใหญ่ คล้ายออกเดี่ยว ๆ ใบที่ปลายกิ่งขนาดเล็ก ใบตรงข้ามลดรูป ดอกรูปดอกเข็ม สีขาว
กลีบเลี้ยงแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ติดทน (ภาพดอก: ถ�้าสะเกิน น่าน - PK; ภาพผล: ดอยหัวหมด ตาก - SSi)
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ดอยเชียงดาวและดอยอ่างขาง จังหวัด
เชียงใหม่ ขึ้นบนเขาหินปูน ความสูง 600-2000 เมตร ดาวเรืองป่า
เอกสารอ้างอิง Anisopappus chinensis (L.) Hook. & Arn.
Sridith, K. (1999). Four new species, a new variety, and a status change in วงศ์ Asteraceae
Argostemma (Rubiaceae) from Thailand. Nordic Journal of Botany 19(2): ชื่อพ้อง Verbesina chinensis L.
174, as ‘thaithongae’.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1 ม. เหง้าเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1.2 ซม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง
แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านช่อดอก และใบประดับ ใบรูปไข่แกมรูปขอบขนานหรือ
รูปใบหอก ยาว 3-10 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาวประมาณ 1.5 ซม. ช่อดอกแบบ
ช่อกระจุกแน่น มักแยกแขนงคล้ายช่อเชิงหลั่น ก้านช่อยาวมากกว่า 1 ซม. วงใบประดับ
รูปครึ่งวงกลม ใบประดับเรียง 3-4 วง รูปใบหอก ยาว 3-5 มม. ดอกสีเหลือง
วงนอกเพศเมีย รูปรีแกมสามเหลี่ยมมน ยาว 6-8 มม. ปลายจักตื้น ๆ 3-4 จัก
ดอกวงในสมบูรณ์เพศ กลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาวประมาณ 3 มม. ปลายจัก
ตื้น ๆ 5 จัก ผลแห้งเมล็ดล่อนเป็นแท่ง มี 4 สัน ยาวประมาณ 2.5 มม. มีขนกระจาย
แพปพัส 4-5 อัน คล้ายเกล็ด ยาว 0.5-1 มม.
พบที่แอฟริกา มาดากัสการ์ อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ และกัมพูชา ในไทยพบ
ดาวเงินไทยทอง: ใบเรียงตรงข้าม มี 2-3 คู่ ใกล้ยอด ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกสั้น ๆ ที่ยอด ดอกรูประฆัง เกสรเพศผู้ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ขึ้นกระจายห่าง ๆ
แยกกัน อับเรณูมีรูเปิดที่ปลาย (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - RP)
ในป่าสน ที่โล่งชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร ใบใช้รักษาเนื้องอกใน
ดาวน้อย โพรงจมูก
Clarkella nana (Edgew.) Hook. f. สกุล Anisopappus Hook. & Arn. อยู่ภายใต้เผ่า Athroismeae มีประมาณ 40 ชนิด
วงศ์ Rubiaceae ส่วนใหญ่พบในแอฟริกา ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “aniso”
ชื่อพ้อง Ophiorrhiza nana Edgew., Clarkella siamensis Craib ไม่เท่ากัน และ “pappos” ปุยหรือรยางค์ ตามลักษณะแพปพัสที่ยาวไม่เท่ากัน
ไม้ล้มลุกขนาดเล็ก อาจสูงได้ถึง 15 ซม. หูใบขนาดเล็ก ใบช่วงโคนขนาดใหญ่ เอกสารอ้างอิง
คล้ายออกเดี่ยว ๆ รูปไข่กว้าง ยาวได้ถึง 10 ซม. แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขน ก้านใบ Chen, Y. and A.A. Anderberg. (2011). Asteraceae (Athroismeae). In Flora of
ยาวได้ถึง 5 ซม. ใบที่ปลายกิ่งขนาดเล็ก ใบตรงข้ามลดรูป ก้านใบสั้น ช่อดอก China Vol. 20-21: 851.
แบบช่อกระจุก ออกที่ปลายกิ่ง ก้านช่อสั้น ก้านดอกยาว 1-3.5 มม. ใบประดับ
ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีขนสั้นนุ่ม แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ขนาดไม่เท่ากัน
รูปสามเหลี่ยม ยาว 1.5-3.5 มม. ติดทน ดอกรูปดอกเข็ม สีขาว หลอดกลีบดอก
ยาวได้ถึง 1.4 ซม. ด้านนอกมีขน กลีบรูปไข่ ยาว 2-5 มม. เกสรเพศผู้ติดที่โคน
หลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูรูปแถบ ยาวประมาณ 1.5 มม. รังไข่ใต้วงกลีบ
มี 2 ช่อง มีขนประปราย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 มม. ยอดเกสรตื้น
ผลแห้งไม่แตก รูปกรวย ยาว 4-8 มม. เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และพม่า ในไทยพบทางภาคเหนือที่แม่ฮ่องสอน
เชียงใหม่ น่าน ล�าปาง ตาก และภาคใต้ที่นครศรีธรรมราช ขึ้นตามเขาหินปูน ความสูง
450-1100 เมตร ดาวเรืองป่า: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น แยกแขนงคล้ายช่อเชิงหลั่น ดอกด้านนอกเพศเมีย รูปรีแกมสามเหลี่ยมมน
ปลายจักตื้น ๆ 3-4 จัก (ภาพ: เลย - NT)
147
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 147 3/1/16 5:31 PM