Page 170 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 170
เดื่อปล้อง
เดื่อปล้อง สารานุกรมพืชในประเทศไทย แดง
Ficus hispida L. f. Syzygium campanulatum Korth.
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ปล้องกลวง กิ่งมีขนสาก หูใบยาวได้ถึง 2.5 ซม. วงศ์ Myrtaceae
ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียนหรือเรียงเกือบตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. กิ่งมักเป็นเหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน
ยาว 5-35 ซม. แผ่นใบมีขนสากทั้งสองด้าน ด้านล่างมีผลึกซิสโทลิท ก้านใบยาว หรือรูปใบหอก ยาว 5-8 ซม. เส้นแขนงใบจ�านวนมาก มีเส้นขอบใน 1 เส้น ช่อดอก
1-10 ซม. ดอกอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ตามซอกใบ แบบช่อแยกแขนง ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 10 ซม. แกนช่อมัก
หรือตามกิ่งเป็นช่อแยกแขนงที่ออกจากล�าต้นเป็นกระจุก กลมหรือแบนเล็กน้อย เป็นเหลี่ยม ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก ดอกออกเป็นกระจุกประมาณ
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3.5 ซม. ไร้ก้านหรือมีก้านสั้น ๆ ช่องเปิดกว้าง 2-4 มม. 3 ดอก ไร้ก้าน ฐานดอกรูปกรวย ยาว 3-4 มม. ก้านดอกเทียมยาวประมาณ 1.5 มม.
ไม่มีขน ใบประดับ 5-6 ใบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ไทร, สกุล) กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 4 กลีบ รูปกลม ยาว 2.5-3 มม.
พบที่ปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ มีต่อมกระจาย เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณูวงนอกยาวประมาณ 5 มม.
นิวกินี และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นทั้งในป่าผลัดใบ และป่าไม่ผลัดใบ รังไข่ 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม.
ป่าเสื่อมโทรม และที่รกร้าง ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร อยู่ภายใต้สกุลย่อย ปลายผลบุ๋ม สุกสีด�า (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หว้า, สกุล)
Sycomorus
พบที่อินเดีย พม่า และภูมิภาคมาเลเซีย ไทยพบทางภาคใต้ตอนล่าง ขึ้นตาม
เดื่อปล้องหิน ป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ มีชื่อทางการค้าว่า
คริสติน่า ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง แยกเป็น var. longistylum Chantar. & J. Parn.
Ficus semicordata Buch.-Ham. ex Sm. ใบขนาดใหญ่กว่า กิ่งและแกนช่อไม่เป็นเหลี่ยม ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่า เป็นพืช
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. หูใบยาว 1-3.5 ซม. โอบหุ้มกิ่ง ร่วงเร็ว ใบเรียงสลับ ถิ่นเดียวของไทย พบที่กะเปอร์ จังหวัดระนอง
ระนาบเดียว รูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ ส่วนมากยาว 10-25 ซม. หรือ
ยาวได้ถึง 45 ซม. โคนเบี้ยว ด้านหนึ่งรูปหัวใจกว้าง คลุมก้านใบ ขอบใบจักซี่ฟัน เอกสารอ้างอิง
แผ่นใบมีขนสากและขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลหนาแน่นด้านล่าง และมีผลึกซิสโทลิท ก้านใบ Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol.
7(4): 840.
ยาว 0.5-2 ซม. ดอกอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายออกตามกิ่งที่ไม่มีใบหรือออกจาก
ไหลที่โคนต้น รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ไร้ก้านหรือยาวได้ถึง 5 มม.
มีใบประดับ 3 ใบ ช่องเปิดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. มีขนหนาแน่น มีใบ
ประดับ 5 ใบ ผลสุกภายในสีขาว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ไทร, สกุล)
พบที่ปากีสถาน อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
คาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ
1600 เมตร อยู่ภายใต้สกุลย่อย Sycomorus
เอกสารอ้างอิง
Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae. In
Flora of Thailand Vol. 10(4): 522-523, 566-567, 574-575, 588-589.
แดง: กิ่งมักเป็นเหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ผลสุกสีด�า ปลายผลบุ๋ม
(ภาพ: cultivated - RP)
แดง
เดื่อเถา: ไทรมีรากเป็นเถาขนาดใหญ่ fig ออกตามเถา (ภาพซ้าย: เขาช่อง ตรัง - RP); เดื่อน�้า: fig ออกเดี่ยว ๆ Xylia xylocarpa (Roxb.) W. Theob. var. kerrii (Craib & Hutch.) I. C.
ตามซอกใบ ก้านยาว (ภาพขวา: ท่าสองยาง ตาก - RP)
Nielsen
วงศ์ Fabaceae
ชื่อพ้อง Xylia kerrii Craib & Hutch.
ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 30 ม. มีขนตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง และก้านช่อดอก
หูใบรูปเส้นด้าย ยาวประมาณ 3 มม. ใบประกอบ 2 ชั้น แกนกลางยาว 3-7 ซม.
ใบประกอบย่อยมี 1 คู่ ยาว 10-30 ซม. มีต่อมระหว่างใบประกอบย่อย ใบย่อยมี
3-6 คู่ รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-14 ซม. ก้านใบย่อยยาว 2-3 มม.
เดื่อปล้อง: ใบเรียงเวียนหรือเกือบตรงข้าม figs ออกตามกิ่งเป็นช่อแยกแขนงที่ออกจากล�าต้นเป็นกระจุก ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกคล้ายช่อกระจะสั้น ๆ
(ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
ก้านช่อโดดยาวได้ถึง 9 ซม. ใบประดับรูปช้อน ยาว 2-3 มม. ดอกสมบูรณ์เพศหรือ
ดอกเพศผู้ มีขนสั้นหนานุ่ม หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ
รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 3.5-4.5 มม. เกสรเพศผู้
10 อัน แยกกัน ยาว 0.5-1.2 ซม. อับเรณูไม่มีต่อม รังไข่มีขน ผลเป็นฝักโค้งคล้าย
บูมเมอแรง ยาว 12-17 ซม. กว้าง 3.5-6 ซม. แห้งแตกอ้าออก มี 7-10 เมล็ด รูปรี
แบน ๆ ยาวประมาณ 1 ซม.
พบที่พม่าและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึงสุราษฎร์ธานี ขึ้นตาม
ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ หรือป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 850 เมตร เปลือก
มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง ทางภาคเหนือใช้เคี้ยวกับหมาก หรือขูดใส่ลาบ
ช่วยให้เนื้อแน่น ส่วน var. xylocarpa พบที่อินเดียและพม่า ใบเกลี้ยงกว่า และ
เดื่อปล้องหิน: ใบเรียงสลับระนาบเดียว โคนเบี้ยว ด้านหนึ่งรูปหัวใจกว้าง คลุมก้านใบ ขอบจักซี่ฟัน figs ออกจากไหล
ที่โคนต้น (ภาพ: เขาสก สุราษฎร์ธานี - BC) อับเรณูมีต่อม
150
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 150 3/1/16 5:31 PM