Page 172 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 172
โด่ไม่รู้ล้ม
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
พบที่กัมพูชา เวียดนาม ชวา และออสเตรเลีย ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้น หรือรูปใบหอก ยาว 5-11 ซม. ขอบจักฟันเลื่อยคล้ายหนาม ก้านใบยาว 1-5 ซม.
ภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูง 100-200 เมตร ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ติดบนเส้นกลางใบใต้จุดกึ่งกลาง ช่อดอกเพศผู้มี 7-10 ดอก
ใบประดับคล้ายหูใบ ก้านดอกยาว 1-2 มม. ดอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. กลีบเลี้ยง
เอกสารอ้างอิง
Hartono, R. (1965). A monograph of the genus Schoutenia Korth. (Tiliaceae). และกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 3-5 กลีบ สีม่วงอมเขียว เกสรเพศผู้ติดระหว่าง
Reinwardtia Vol. 7(2): 91-138. กลีบดอก ยาวประมาณ 1 มม. จานฐานดอกรูปเบาะ ช่อดอกเพศเมียมี 1-5 ดอก
Phengklai, C. (1993). Tiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 73-80. ก้านดอกสั้น ดอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ
4 กลีบ รังไข่ใต้วงกลีบ เกสรเพศเมียแยก 3-5 แฉก ติดทน ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี
ยาว 7-8 มม. จักเป็นพู ก้านผลยาว 1-6 มม. มี 2-4 เมล็ด
พบที่ อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า และเวียดนามตอนบน ในไทย
พบทางภาคเหนือที่ดอยภูคา จังหวัดน่าน ขึ้นตามที่ลาดชันใต้ร่มเงาในป่าดิบเขา
ความสูงประมาณ 1100 เมตร
สกุล Helwingia Willd. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Apiaceae, Araliaceae หรือ Cornaceae
แดงสะแง: แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น กลีบเลี้ยงขยายบานออกในผล แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง เป็นสกุลเดียวของวงศ์ พบเฉพาะประเทศในแถบเทือกเขาหิมาลัย และเอเชีย
ปลายแหลม ผลแห้งไม่แตก มีขนหนาแน่น (ภาพซ้าย: บุรีรัมย์ - RP); รวงผึ้ง: (ภาพขวา: นครสวรรค์ - MP)
ตะวันออกที่จีน ญี่ปุ่น และเกาหลี มี 4 ชนิด ในไทยมีชนิดเดียว ใน Flora of China
โด่ไม่รู้ล้ม ระบุว่าพบ H. chinensis Batalin ซึ่งอาจวิเคราะห์ชื่อผิด ช่อดอกที่ออกกลางเส้นใบ
Elephantopus scaber L. (epiphyllous flowers) เกิดจากก้านช่อดอกแนบติดกับก้านใบและเส้นกลางใบ
เป็นเนื้อเดียวกัน จนไม่สามารถแยกได้ ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน
วงศ์ Asteraceae Georg Andreas Helwing (1668-1748)
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 60 ซม. มีเหง้า ล�าต้นแยกแขนง มีขนหยาบและต่อมตาม
ล�าต้น แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก ใบประดับ และวงใบประดับ ใบเรียงเป็นกระจุก เอกสารอ้างอิง
Pooma, R. (2011). Helwingiaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(1): 14-15.
ที่โคน รูปใบหอกกลับ ยาว 5-18 ซม. ปลายกลม โคนเรียวสอบ ขอบจักฟันเลื่อย Xiang, J.Q. and E. Boufford. (2005). Helwingiaceae. In Flora of China Vol. 14:
ก้านใบสั้น ใบตามล�าต้นขนาดเล็ก ปลายแหลม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่นเป็น 227-228.
กระจุกหลายช่อ ใบประดับคล้ายใบ รูปไข่ ยาว 1-1.5 ซม. วงใบประดับเรียวแคบ
ยาวประมาณ 1 ซม. ใบประดับ 8 อัน เรียงตรงข้ามตั้งฉากกัน สีเขียวหรือแดง
อมม่วง รูปใบหอก ปลายแหลม วงในยาวกว่าวงนอกประมาณ 2 เท่า ยาวประมาณ
1 ซม. ดอกย่อยมี 4 ดอก สีชมพูหรือม่วง กลีบยาว 7-9 มม. เชื่อมติดกัน 4-5 มม.
เกสรเพศผู้ 5 อัน ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็นแฉก ผลแห้งเมล็ดล่อน รูปแถบ ยาว
ประมาณ 4 มม. เป็นเหลี่ยม มีขนละเอียด แพปพัส 5-6 อัน ยาว 4-5 มม.
พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา และเอเชีย ขึ้นเป็นวัชพืช ความสูงถึงประมาณ
1500 เมตร มีสรรพคุณขับปัสสาวะ ลดอาการบวมน�้า แก้การอักเสบต่าง ๆ
สกุล Elephantopus L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Cichorioideae เผ่า Vernonieae มี
ประมาณ 30 ชนิด ส่วนมากพบในอเมริกาใต้ ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ E. ต้นใบหูด: ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ออกจากเส้นกลางใบ ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว ขอบใบจักฟันเลื่อยคล้ายหนาม ผลรูปรี
mollis Kunth ใบเรียงบนต้น ดอกสีขาว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “elephantos” จักเป็นพูจ�านวนตามเมล็ด (ภาพ: ดอยภูคา น่าน - RP)
ช้าง และ “pous” เท้า ตามลักษณะของเหง้าหรือใบกระจุกที่โคนต้น ตรึงบาดาล
เอกสารอ้างอิง Senna sulfurea (DC. ex Collad.) H. S. Irwin & Barneby
Chen, Y. and M.G. Gilbert. (2011). Asteraceae (Vernonieae). In Flora of China วงศ์ Fabaceae
Vol. 20-21: 368-369.
ชื่อพ้อง Cassia sulfurea DC. ex Collad., C. surattensis Burm. f. subsp.
glauca (Lam.) K. Larsen & S. S. Larsen
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งอ่อนมีขนยาว หูใบรูปแถบ ยาว 0.5-1 ซม.
ใบประกอบยาว 15-30 ซม. ก้านยาว 3.5-6.5 ซม. มีใบย่อย 4-6 คู่ มีต่อมรูป
กระบองระหว่างก้านใบย่อย 2 คู่ล่าง ใบย่อยรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-10 ซม.
ปลายแหลมมน หรือเว้าตื้น โคนรูปลิ่มกว้างถึงกลม แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม
ก้านใบสั้น ช่อดอกแบบช่อกระจะตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 15 ซม. ใบประดับ
รูปไข่ ยาว 4-8 มม. พับงอกลับ ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 1-3 ซม. กลีบเลี้ยงคู่นอกกลม
ขนาดประมาณ 3 มม. 3 กลีบในรูปไข่กลับ ยาว 6-9 มม. กลีบดอกรูปไข่ ยาว
1.5-2.5 ซม. อับเรณูยาวเท่า ๆ กัน ยาว 5-7 มม. ก้านชูอับเรณูอันยาว 1 อัน ยาว
3-4 มม. อันสั้น 9 อัน ยาว 1-2 มม. รังไข่มีขนประปราย ก้านเกสรเพศเมียโค้ง เกลี้ยง
ฝักรูปแถบ แบน ยาว 10-20 ซม. เป็นมันวาว ปลายมีจะงอย มี 20-30 เมล็ด
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ขี้เหล็ก, สกุล)
มีถิ่นก�าเนิดในเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยพบเฉพาะเป็นไม้ประดับ
โด่ไม่รู้ล้ม: มีขนหยาบและต่อมทั่วไป ใบเรียงเป็นกระจุกที่โคน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น (ภาพ: นครสวรรค์ - MP)
คล้ายกับทรงบาดาล S. surattensis (Burm. f.) H. S. Irwin & Barneby ที่มีใบย่อย
ต้นใบหูด 6-9 คู่ ใบขนาดเล็กกว่า ปลายใบกลม ฝักสั้นกว่า
Helwingia himalaica Hook. f. & Thomson ex C. B. Clarke เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Helwingiaceae Chen, D., D. Zhang and K. Larsen. (2010). Fabaceae (Cassieae). In Flora of
China Vol. 10: 31-32.
ไม้พุ่ม แตกกอ สูง 2-3 ม. แยกเพศต่างต้น ล�าต้นกลวงเป็นฟองน�้าสีขาว หูใบ Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
รูปเส้นด้าย ยาว 1-2 มม. ร่วงเร็ว บางครั้งแยก 2-3 แฉก ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน In Flora of Thailand Vol. 4(1): 119-120.
152
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 152 3/1/16 5:23 PM