Page 174 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 174
ตองงุม
ตองงุม สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Pothos chinensis (Raf.) Merr.
วงศ์ Araceae
ชื่อพ้อง Tapanava chinensis Raf.
ไม้เถา ยาวได้ถึง 10 ม. กิ่งที่มีดอกมักแตกแขนง ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปรี
ถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว 3-21 ซม. ก้านใบยาว 3-14 ซม. มีปีกกว้าง ช่อดอก
ออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ 1-2 ช่อ โคนช่อมีใบประดับย่อยขนาดเล็ก มีเกล็ดหุ้ม
ยอดยาว 0.3-1.5 ซม. ก้านช่อยาวได้ถึง 2.5 ซม. กาบสีเขียว รูปไข่ เว้า พับงอกลับ
ยาว 0.4-1.2 ซม. โคนรูปหัวใจหุ้มก้านช่อดอก ปลายแหลมมีติ่ง ติดทน ก้านช่อดอก ตองเต่า: ช่อดอกแบบช่อกระจุก มีดอกเดียว กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ขอบใบเรียบ โคนเป็นติ่ง เบี้ยว ผลแบบผลแห้งแตก
ยาว 0.5-1 ซม. ช่อรูปไข่หรือกลม ยาว 0.4-1.3 ซม. สีเหลืองอ่อน ดอกเส้นผ่านศูนย์กลาง ไม่มีสัน ก้านผลยาว (ภาพดอก: เขาช่อง ตรัง - AS; ภาพผล: เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ - RP)
1-2 มม. เกสรเพศผู้ 4 อัน รังไข่รูปรี แบนเป็นเหลี่ยม มีผลย่อย 1-5 ผล รูปรีหรือรูปไข่ ตองเต้า, สกุล
ยาว 1-1.8 ซม. สุกสีแดงเข้ม ส่วนมากมีเมล็ดเดียว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เถาพันดง, สกุล)
พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน บังกลาเทศ พม่า จีนตอนใต้ ฮ่องกง ไต้หวัน และ Mallotus Lour.
ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค พบน้อยทางภาคใต้ เกาะตามต้นไม้หรือก้อนหิน วงศ์ Euphorbiaceae
ในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น หรือเขาหินปูน ความสูง 100-2000 เมตร คล้าย ไม้พุ่มหรือไม้ต้น พบน้อยที่เป็นไม้เถา แยกเพศต่างต้น หูใบรูปลิ่มแคบ ร่วงเร็ว
ตะเข็บ P. scandens L. ที่กาบมีสีม่วง ดอกหนาแน่นกว่า ช่อดอกหักงอ ก้านใบ ใบเรียงเวียนหรือเรียงตรงข้ามขนาดไม่เท่ากัน แผ่นใบด้านล่างมักมีเกล็ดต่อม
สั้นกว่าใบเกินกึ่งหนึ่ง พบหนาแน่นทางภาคใต้ ทั้งต้นมีสรรพคุณระงับปวดตามข้อ และตุ่มใบ โคนใบส่วนมากมีต่อม 2 ต่อม ช่อดอกแบบช่อกระจะคล้ายช่อกระจุก
กระดูก รักษาแผลสด แก้ไอ และโรคขาดสารอาหารในเด็กที่เกิดจากพยาธิ บางครั้งแยกแขนง ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก ดอกเพศเมียมี 1-2 ดอก กลีบเลี้ยง
แยก 3-6 แฉก ไม่มีกลีบดอกและจานฐานดอก เกสรเพศผู้มี 15 อัน ถึงจ�านวนมาก
เอกสารอ้างอิง
Boyce, P.C. (2012). Araceae (Pothos). In Flora of Thailand Vol. 11(2): 255-256. แยกกัน อับเรณูมี 2 ช่อง แกนอับเรณูกว้าง ในดอกเพศผู้ไม่มีรังไข่ที่เป็นหมัน รังไข่
Li, H. and P.C. Boyce. (2010). Araceae (Pothos). In Flora of China Vol. 23: 7. ส่วนมากมี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยอดเกสร
ไม่แยกแขนง มีขนหรือปุ่มยาว ติดทน ผลแห้งแตก มักมีขนหนาม เมล็ดเรียบ
บางครั้งมีเยื่อหุ้ม
สกุล Mallotus อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Acalyphoideae เผ่า Acalypheae มีประมาณ
150 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก
ในไทยมี 42 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “mallotos” ขนแบบขนแกะ ตาม
ลักษณะผลที่มักมีขนแบบขนแกะ
ตองเต้า
Mallotus barbatus Müll. Arg.
ตองงุม: ใบเรียงสลับระนาบเดียว ก้านใบมีปีกกว้าง ช่อดอกแบบช่อเชิงลดมีกาบ ออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ กาบสีเขียว
เว้า พับงอกลับ โคนรูปหัวใจหุ้มก้านช่อดอก ปลายแหลมมีติ่ง (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - MP) ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. หูใบยาว 0.6-1 ซม. ใบรูปไข่ หรือจักเป็นพู
ยาว 18-60 ซม. โคนแบบก้นปิด มีต่อมน�้าต้อยสีด�าที่โคนประมาณ 4 ต่อม ขอบจัก
ซี่ฟัน ก้านใบยาวได้ถึง 20 ซม. ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 30 ซม. ดอกเพศผู้ออกเป็นกลุ่ม
3 ดอก ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 4 มม. ก้านดอกยาว 3.5-6.5 มม.
กลีบเลี้ยงสีครีม ยาว 3.5-5 มม. ช่อดอกเพศเมียยาวได้ถึง 40 ซม. ห้อยลง ใบประดับ
ยาวได้ถึง 1 ซม. ก้านดอกยาว 2-4 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยงสีเหลืองอมแดง ยาว
3.5-5 มม. ยอดเกสรเพศเมียยาว 4.5-6 มม. ผลกลม จัก 3 พู ตื้น ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง
1.8-2 ซม. ขนหนามยาวประมาณ 5 มม. ผลมีขนรูปดาวหนาแน่น เมล็ดรูปไข่กลับ
ตะเข็บ: กาบมีสีม่วง ช่อดอกหักงอ ก้านใบสั้นกว่าใบเกินกึ่งหนึ่ง (ภาพ: เขาช่อง ตรัง - SSi) ยาวประมาณ 5 มม.
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ในไทยพบ
ตองเต่า ทุกภาค เป็นไม้เบิกน�า ขึ้นตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ใบต�ากับ
Pterospermum cinnamomeum Kurz พริกไทยด�าและขิงใช้พอกท้องแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ
วงศ์ Malvaceae
เอกสารอ้างอิง
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน โคนมักเป็นติ่ง เบี้ยว Qiu, H. and M.G. Gilbert. (2008). Euphorbiaceae (Mallotus). In Flora of China
ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได ช่อดอกมีดอกเดียว ตาดอกรูปขอบขนาน Vol. 11: 225, 229.
ริ้วประดับ 3 อัน ร่วงเร็ว ก้านดอกยาวประมาณ 3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว van Welzen, P.C., S.E.C. Sierra, J.W.F. Silk and S. Bollendroff. (2007). Euphor-
3.5-4 ซม. มีขนทั้งสองด้าน กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ยาว 3-3.5 ซม. เกสรเพศผู้ biaceae (Mallotus). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 384-437.
15 อัน มี 5 มัด เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 5 อัน รูปเส้นด้าย ยาวกว่าเกสรเพศผู้
ที่สมบูรณ์ ก้านชูอับเรณูมีต่อม รังไข่มีขน เกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 ซม. ปลายจัก
5 พู บิดเป็นเกลียว ผลแห้งแตกเป็น 5 ซีก รูปไข่แกมรูปขอบขนานหรือรูปกระสวย
ไม่มีสัน ยาว 4.5-5 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก รูปไข่ ยาวประมาณ 2 ซม. รวมปีกบาง ๆ
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ล�าป้าง, สกุล)
พบที่พม่า ในไทยพบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ ล�าปาง และภาคตะวันออกที่
นครราชสีมา ชัยภูมิ ศรีสะเกษ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ โดยเฉพาะ
เขาหินปูน ความสูง 100-300 เมตร
เอกสารอ้างอิง ตองเต้า: โคนใบแบบก้นปิด ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ดอกเพศผู้ออกเป็นกลุ่ม 3 ดอก ไม่มีกลีบดอก ช่อผลห้อยลง
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 602-604. ผลมีขนหนาแน่น เกสรเพศเมียติดทน (ภาพดอก: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SR; ภาพผล: แก่งกระจาน เพชรบุรี - SSi)
154
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 154 3/1/16 5:24 PM