Page 178 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 178
ตะโกนา
ตะโกนา สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Diospyros rhodocalyx Kurz
วงศ์ Ebenaceae
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 3-12 ซม. แผ่นใบด้านล่าง
มีขนสั้นนุ่ม เส้นแขนงใบข้างละ 5-8 เส้น ก้านใบยาว 2-7 มม. ดอกเพศผู้ออกเป็น
ช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 3-4 มม.
มี 4 กลีบ แฉกตื้น ๆ ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม มีขนหยาบด้านใน ติดทน ดอกรูปคนโท
ยาว 0.8-1.2 ซม. มี 4 กลีบ แฉกตื้น ๆ เกสรเพศผู้ 14-16 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญมีขน
ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกยาว 2-3 มม. รังไข่มี 4 ช่อง มีขนคล้ายขนแกะ ตะขบป่า: ใบรูปรีหรือรูปไข่ ขอบจัก ผลสุกสีแดง (ภาพซ้าย: ตาก - RP); ตะขบควาย: ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน
ก้านเกสรเพศเมียมีขนหยาบ เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 8-10 อัน ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง ผลสุกสีแดงด้าน ๆ (ภาพขวา: จันทบุรี - SSi)
1.5-2.5 ซม. มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น ผลแก่เกลี้ยง แห้งเปราะ ก้านผลยาว 2-5 มม.
กลีบเลี้ยงแฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง ไม่พับงอกลับ เอนโดสเปิร์มมีลาย (ดูข้อมูลเพิ่มเติม ตะขบฝรั่ง
ที่มะเกลือ, สกุล) Muntingia calabura L.
พบที่พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม วงศ์ Muntingiaceae
ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และท้องไร่ท้องนา ความสูงไม่เกิน 300 เมตร ผลสุก ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนกระจุกสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบ ก้านใบ และ
กินได้คล้ายมะพลับ กลีบเลี้ยง หูใบร่วมขนาดเล็ก ยาวไม่เท่ากัน ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปขอบขนาน
หรือรูปใบหอก ยาว 5-10 ซม. ปลายแหลม โคนเบี้ยว ขอบใบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว
เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 334-337. 2-5 มม. ดอกออกตามซอกใบเป็นกระจุก 1-3 ดอก ก้านดอกยาว 1.5-3 ซม. กลีบเลี้ยง
5 กลีบ รูปใบหอก พับงอกลับ กลีบดอกมี 5-7 กลีบ รูปรี ยาวประมาณ 1 ซม.
มีก้านกลีบสั้น ๆ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เกลี้ยง จานฐานดอกรูปวงแหวน รังไข่เกลี้ยง
ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรมี 5-7 พู ผลสด เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม.
เปลือกบาง สุกสีแดง ก้านยาว 2-3 ซม. เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกากลาง และอเมริกาใต้ เป็นไม้ประดับหรือไม้ผลทั่วไปใน
เขตร้อน หรือขึ้นเป็นวัชพืช ผลกินได้ มีสรรพคุณช่วยให้ผ่อนคลาย
สกุล Muntingia L. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Elaeocarpaceae, Tiliaceae หรือ
Flacourtiaceae มีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวดัตช์์
Abraham Munting (1626-1683)
ตะโกนา: ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ผลเกือบกลม มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น ผลแก่เกลี้ยง กลีบเลี้ยงแฉกลึกประมาณ
สองในสามส่วน (ภาพดอก: สระบุรี - PT; ภาพผล: หล่มสัก เพชรบูรณ์ - RP)
เอกสารอ้างอิง
ตะขบป่า Phengklai, C. (1993). Tiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 42-44.
Flacourtia indica (Burm. f.) Merr.
วงศ์ Salicaceae
ชื่อพ้อง Gmelina indica Burm. f.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แยกเพศต่างต้น ล�าต้นมีหนามหรือไม่มี มีขนสั้นนุ่ม
ตามกิ่ง ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านใน หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน
รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 4-12 ซม. แผ่นใบมักมีขนตามเส้นแขนงใบด้านล่าง ขอบจัก
ฟันเลื่อย ปลายจักมีต่อม ก้านใบยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว ตะขบฝรั่ง: กลีบดอก 6 กลีบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ยอดเกสรมี 5-7 พู ผลสุกสีแดง (ภาพ: พบพระ ตาก - RP)
1-2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับคล้ายใบ ก้านดอกยาว 3-8 มม. กลีบเลี้ยง 3-7 กลีบ
เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. ขอบมีขนครุย ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ ตะคร้อ
จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศเมีย Schleichera oleosa (Lour.) Oken
จานฐานดอกเป็นวงหรือจักตื้น ๆ รังไข่มี 5-7 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ไม่มี วงศ์ Sapindaceae
ที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 5-6 อัน แยกกันหรือเชื่อมติดกันที่โคน ชื่อพ้อง Pistacia oleosa Lour., Schleichera trijuga Willd.
ยาว 2-2.5 มม. ติดทน ยอดเกสรคล้ายรูปเกือกม้า ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง
0.8-2.5 ซม. สุกสีแดง ส่วนมากมี 10-14 ไพรีน ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. ปลายยอดเป็นติ่งคล้ายหูใบ ใบประกอบปลายคู่ มีใบย่อย
พบที่แอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค 2-4 คู่ ก้านยาว 2-6 ซม. ใบย่อยรูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 4.5-25 ซม. โคนเบี้ยว
แผ่นใบด้านล่างมีขน ก้านใบยาว 1-3 มม. บวม ใบอ่อนสีน�้าตาลแดงหรืออมม่วง
ขึ้นตามป่าผลัดใบและไม่ผลัดใบ ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร ปลูกเป็นไม้ผล
ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกไม่แยกแขนง ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุกเหนือรอยแผลใบ
สกุล Flacourtia Comm. ex L’Hér. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Flacourtiaceae มีประมาณ ยาว 6-15 ซม. ดอกมีเพศเดียว กลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอก จานฐานดอก
15 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 4 ชนิด รูปวงแหวน ช่อดอกเพศผู้แตกแขนง ก้านดอกยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน
ตะขบควาย F. jangomas (Lour.) Raeusch. เป็นไม้ต่างถิ่น ไม่ทราบถิ่นกำาเนิด ที่โคน กลีบรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 มม. มีขนหรือต่อมกระจาย เกสรเพศผู้ 5-9 อัน
ที่แน่ชัด ตะขบไทย F. rukam Zoll. & Moritzi และตะขบ F. ramontchi L’Hér. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 2 มม. มีขน ลดรูปในดอกเพศเมีย ช่อดอกเพศเมียส่วนมาก
ซึ่งทั้ง 4 ชนิด มีความแตกต่างกันน้อยมาก ชื่อสกุลตั้งตามนักสำารวจชาวฝรั่งเศส ไม่แตกแขนง รังไข่มีขนยาว ก้านเกสรเพศเมียหนา ยาวประมาณ 1.5 มม. ผลรูปรี
Étienne de Flacourt (1607-1660) เกือบกลม ยาว 1.5-2.5 ซม. ปลายมีติ่งแหลม มี 1-2 เมล็ด กลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 1 ซม. มีเยื่อหุ้มสดสีเหลืองอมน�้าตาล
เอกสารอ้างอิง
Harwood, B. and B. Webber. (2015). Achariaceae. In Flora of Thailand Vol. พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค
13(1): 27-35. ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง ความสูงถึงประมาณ
Yang, Q. and S. Zmarzty. (2007). Flacourtiaceae. In Flora of China Vol. 13: 900 เมตร ไม้ใช้ท�าฟืนและถ่านคุณภาพดี ผลรสเปรี้ยว ใบอ่อนเป็นผักสด
118-120.
158
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 158 3/1/16 5:25 PM