Page 182 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 182

ตะเคียนทอง


                ตะเคียนทอง          สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                Hopea odorata Roxb.
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน หูใบ ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ใบรูป
                ขอบขนานหรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ หรือโค้งเล็กน้อย ยาว 5-14 ซม. โคนเบี้ยว
                เส้นแขนงใบข้างละ 8-12 เส้น มักมีตุ่มใบเป็นรู เกลี้ยง ก้านใบยาว 1-1.5 ซม.
                ช่อดอกยาว 3-10 ซม. ช่อย่อยมี 4-10 ดอก กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1-3 มม. ดอกสีครีม
                อมเหลือง กลีบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2-3 มม. ขอบเป็นชายครุย เกสรเพศผู้
                15 อัน รยางค์ยาวเท่า ๆ อับเรณู รังไข่และฐานก้านเกสรเพศเมียรูปไข่ ยาวประมาณ
                2 มม. ก้านเกสรเพศเมียสั้น กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีก มีขนสั้นนุ่มประปราย ปีกยาว
                ยาว 3-6 ซม. ปีกสั้นยาว 5-7 มม. ผลรูปไข่กว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 6-8 มม. มีขุยเกล็ด
                   พบที่อินเดีย บังกลาเทศ พม่า อินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค
                ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น หรือริมล�าธารในป่าเบญจพรรณ ความสูงถึงประมาณ
                900 เมตร เนื้อไม้มีสีเข้มเมื่อโดนอากาศ นิยมใช้ขุดเรือ เปลือกเคี้ยวแก้ปวดฟัน   ตะเคียนน�้า: พืชทนน�้าท่วม ขึ้นตามเกาะในแม่น�้าโขง กิ่งมีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ก้านช่อยาว
                                                                     ผลแห้งไม่แตก ปลายเป็นจะงอย (ภาพ: โขงเจียม อุบลราชธานี; ภาพต้นและดอก - NN, ภาพผล - MT)
                  เอกสารอ้างอิง
                   Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 391-436.  ตะเคียนใบใหญ่
                   Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.
                      Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 140-152.     Hopea thorelii Pierre
                   Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du   วงศ์ Dipterocarpaceae
                      Cambodge, du Laos et du Vietnam. 25: 62-84.
                                                                       ไม้ต้น สูง 10-15 ม. แตกกอ เปลือกเรียบสีเทาเข้ม มีขนกระจุกสั้นนุ่มและ
                                                                     ขนแข็งตามกิ่งอ่อน หูใบ ตา ก้านใบ และช่อดอก กิ่งมีช่องอากาศ หูใบรูปไข่ ใบรูป
                                                                     ใบหอกหรือแกมรูปไข่ เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 8-17 ซม. เส้นแขนงใบย่อยแบบกึ่งขั้นบันได
                                                                     ก้านใบยาว 0.7-2 ซม. ช่อดอกยาว 3-15 ซม. ช่อย่อย มี 2-8 ดอก กลีบเลี้ยงเกือบกลม
                                                                     ยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายกลีบเป็นชายครุย ดอกสีขาวอมชมพู กลีบรูปไข่ ยาว
                                                                     ประมาณ 6 มม. ขอบมีขนครุย ด้านนอกมีขนกระจาย เกสรเพศผู้ 15 อัน รยางค์ยาว
                                                                     2-3 เท่า ของอับเรณู รังไข่และฐานก้านเกสรเพศเมียคอดเล็กน้อย ยาวประมาณ
                                                                     1.2 มม. ก้านเกสรเพศเมียสั้น กลีบเลี้ยงไม่ขยายเป็นปีก รูปรีกว้างเกือบกลม
                                                                     ยาว 7-8 มม. ผลรูปไข่ เกลี้ยง ยาว 2-2.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะเคียนทอง, สกุล)
                                                                       พบที่ลาว และกัมพูชา ในไทยพบทางภาคตะวันออกที่อุบลราชธานี อ�านาจเจริญ
                                                                     ขึ้นกระจายห่าง ๆ ในป่าดิบแล้ง ความสูง 100-300 เมตร

                                                                     ตะเคียนราก
                                                                     Hopea pierrei Hance
                  ตะเคียนทอง: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกเรียงสลับด้านเดียว กลีบดอกบิดเวียน กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีกยาว 2 ปีก
                ปีกสั้น 3 ปีก (ภาพ: cultivated - RP)                   ไม้ต้น สูง 10-20 ม. โคนต้นมักมีพูพอนหรือรากค�้ายัน เปลือกมักแตกเป็นสะเก็ด
                ตะเคียนน้ำา                                          ตามยาว กิ่งอ่อนมีขนสั้น ใบรูปไข่หรือรูปรี ยาว 4-8 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง ยาว
                                                                     0.7-1 ซม. เส้นแขนงใบแบบเส้นใบแซม มี 12-15 เส้นในแต่ละข้าง มักมีเส้นใบย่อย
                Anogeissus rivularis (Gagnep.) O. Lecompte           1-2 เส้นแซม ส่วนมากมีต่อมใบเป็นกระจุกขนช่วงโคน เส้นกลางใบด้านบนเป็นร่อง
                วงศ์ Combretaceae                                    ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกยาว 1-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ดอกสีครีม
                  ชื่อพ้อง Finetia rivularis Gagnep.                 กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 2 มม. มีขนสั้นด้านนอก ขอบกลีบเป็นชายครุย
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้นทนน�้าท่วม สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ก้านใบ   เกสรเพศผู้ 15 อัน รังไข่และฐานก้านเกสรเพศเมียรูปนาฬิกาทราย ยาว 3 มม.
                ใบประดับ ก้านดอก และหลอดกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบเรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม   เกลี้ยง กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีก ในผลอ่อนสีน�้าตาลแดง ปีกยาว ยาว 2.5-3 ซม.
                รูปรี กว้าง 0.7-1.5 ซม. ยาว 1.5-4 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่งสั้น ๆ ใบอ่อนมีขน  ปีกสั้น ยาว 3-4 มม. ผลรูปไข่ ยาว 6 มม. เกลี้ยง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะเคียนทอง, สกุล)
                คล้ายไหม ใบแก่มีขนด้านล่างกระจาย เส้นแขนงใบส่วนมากมีข้างละ 3-5 เส้น   พบในภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทยพบที่ตราด
                ก้านใบยาว 2-4 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม.   หนองคาย และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร
                ก้านช่อยาว 0.7-1.2 ซม. มีขนยาวสีน�้าตาลแดง ใบประดับ 3-4 คู่ รูปใบหอก ยาว
                1-2 มม. ร่วงเร็ว ดอกจ�านวนมาก ก้านดอกยาว 3-4 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว  เอกสารอ้างอิง
                ประมาณ 1 มม. เป็นสันนูน ปลายแยกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ ติดทน ไม่มีกลีบดอก   Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du
                                                                          Cambodge, du Laos et du Vietnam. 25: 76-77, 82-83.
                รังไข่เกลี้ยง ผลเป็นกระจุกแน่นรูปโคน ผลย่อยรูปรี ยาว 3-3.5 มม. มี 4 สัน แห้ง
                ไม่แตก ปลายเป็นจะงอย ยาวประมาณ 2 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะเคียนหนู, สกุล)
                   พบที่ลาว ในไทยส่วนมากพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก
                ขึ้นกระจายหนาแน่นในแม่น�้าโขงที่เป็นเกาะในหน้าแล้ง และยังพบในที่ลุ่มน�้าท่วมถึง
                ทางภาคเหนือที่สุโขทัย และพิจิตร ซึ่งเรียกว่า คร่อเทียน หรือ ขล้อเทียน

                  เอกสารอ้างอิง
                   Puff, C. and K. Chayamarit. (2011). Living under water for up to four months
                      of the year: observations on the rheophytes of the Mekong river in the
                      Pha Taem national park area (Thailand/Laos border). Thai Forest Bulletin
                      (Botany) 39: 185.
                   Scott, A.J. (1979). A revision of Anogeissus (Combretaceae). Kew Bulletin 33:   ตะเคียนใบใหญ่: ดอกสีขาวอมชมพู กลีบรูปไข่ ขอบมีขนครุย ผลรูปไข่ เกลี้ยง ปลายมีติ่งแหลม กลีบเลี้ยงไม่ขยาย
                      555-566.                                       เป็นปีก (ภาพดอก: อุบลราชธานี - MP; ภาพผล: อ�านาจเจริญ - SSi)

                162






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   162                                                                 3/1/16   5:26 PM
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187