Page 181 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 181

พบที่คาบสมุทรมลายู ในไทยพบที่สุราษฎร์ธานี ตรัง สงขลา ปัตตานี และนราธิวาส   ตะเคียนเฒ่า  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ตะเคียนทอง
                    ขึ้นตามที่ลาดชันในป่าดิบชื้น ความสูง 300-500 เมตร เนื้อไม้มีความแข็งและ  Fagraea racemosa Jack ex Wall.
                    คงทนมากที่สุดในมาเลเซีย
                                                                        วงศ์ Gentianaceae
                       สกุล Neobalanocarpus P. S. Ashton อยู่ภายใต้เผ่า Shoreae ที่โคนกลีบเลี้ยง  ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. หูใบเชื่อมติดกันเป็นปลอกรอบกิ่ง ยาว 1-2 มม. ใบรูปรี
                       ในผลเรียงซ้อนเหลื่อม มีชนิดเดียว ชื่อสกุลหมายถึงสกุลใหม่ที่แยกมาจากสกุล   รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอกกลับ ยาว 11-25 ซม. ก้านใบยาว 0.8-2.5 ซม. ช่อดอก
                       Balanocarpus ซึ่งหลายชนิดถูกยุบรวมกับสกุล Hopea  แบบช่อกระจุก ออกตามปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 16 ซม. ก้านช่อหนา ยาว 2-8.8 ซม.
                                                                        ดอกรูปกรวย เรียงแน่น ก้านดอกหนา ยาว 2-5 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 5-7 มม.
                      เอกสารอ้างอิง
                       Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 388-389.  ปลายแยกเป็น 5 แฉก ยาว 3-5 มม. ขยายในผล ดอกหนา สีขาวครีมถึงส้มอ่อน
                       Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.   หลอดกลีบดอกยาว 1.5-2 ซม. กลีบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. เกสรเพศผู้
                         Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 152.         ติดเหนือกึ่งกลางหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูยาว 1.4-1.8 ซม. อับเรณูรูปขอบขนาน
                                                                        ยาว 3-4 มม. รังไข่และก้านเกสรเพศเมียยาว 2-3.2 ซม. ยอดเกสรรูปโล่ จัก 2 พู
                                                                        ไม่ชัดเจน ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.8 ซม. เมล็ดยาวประมาณ 1.5 มม. (ดูข้อมูล
                                                                        เพิ่มเติมที่ กันเกรา, สกุล)
                                                                           พบที่พม่า ลาว กัมพูชา ภูมิภาคมาเลเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก
                                                                        ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นริมล�าธารในป่าดิบชื้น ความสูง
                                                                        ระดับต�่า ๆ หรือในป่าพรุ เปลือกและดอกใช้แก้พิษงู น�้าคั้นจากใบแก้ไข้ ปวดข้อ
                                                                        โรคบวมน�้า

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Griffin, O. and J. Parnell. (1997). Loganiaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3):
                                                                              199-201.




                      ตะเคียนชันตาแมว: เปลือกแตกตามยาวล่อนเป็นสะเก็ด ดอกสีครีมอมเหลือง ผลรูปขอบขนาน โค้งเล็กน้อย
                    ปลายมีติ่งแหลม กลีบเลี้ยงสั้นกว่าผล โคนหนา (ภาพ: ยะลา - MP)
                    ตะเคียนชันตาหนู
                    Hopea bracteata Burck
                    วงศ์ Dipterocarpaceae
                       ไม้ต้น สูง 10-25 ม. มีรากค�้ายัน หูใบรูปไข่ ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 4.5-8.5 ซม.
                    ปลายยาวคล้ายหาง โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบกึ่งเส้นใบแซม แต่ละข้างมี 8-13 เส้น
                    ช่วงโคนใบมีตุ่มใบเป็นขน เส้นแขนงใบย่อยแบบกึ่งขั้นบันได ก้านใบยาว 3-5 มม.
                    ช่อดอกยาว 2-3.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มม.
                    มีขนยาวประปรายด้านนอก ดอกสีแดงเข้ม กลีบรูปใบหอก โค้ง ยาวประมาณ 4 มม.   ตะเคียนเฒ่า: ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตามปลายกิ่ง ดอกรูปกรวย เรียงแน่น กลีบหนา ยอดเกสรรูปโล่
                    เกสรเพศผู้ 15 อัน รยางค์ยาวกว่า 2 เท่าของอับเรณู รังไข่และฐานก้านเกสรเพศเมีย  (ภาพ: น�้าตกโตนเพชร พังงา - RP)
                    รูปทรงกระบอก ปลายตัด เกลี้ยง ยาวประมาณ 0.8 มม. ก้านเกสรเพศเมียสั้น   ตะเคียนทอง, สกุล
                    กลีบเลี้ยงไม่ขยายเป็นปีก ยาวเท่า ๆ กัน รูปรีกว้าง หุ้มผล ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง
                    ประมาณ 5 มม. เกลี้ยง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะเคียนทอง, สกุล)  Hopea Roxb.
                                                                        วงศ์ Dipterocarpaceae
                       พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่สุคิริน จังหวัด
                    นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 200-300 เมตร        ไม้ต้น มักมีพูพอนหรือรากค�้ายัน เปลือกเรียบหรือแตกเป็นแผ่น สีน�้าตาลด�า
                                                                        ชันใสหรือขุ่น หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน เส้นแขนงใบแบบขนนกหรือ
                      เอกสารอ้างอิง                                     เส้นใบแซม เส้นแขนงใบย่อยส่วนมากแบบขั้นบันได มักมีตุ่มใบ ช่อดอกแบบ
                       Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 414.  ช่อแยกแขนง ดอกเรียงสลับด้านเดียว ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม
                                                                        กลีบคู่นอกยาวกว่าสามกลีบในเล็กน้อย ดอกสีขาว ครีมอมเหลือง หรือแดง มี 5 กลีบ
                                                                        ร่วงติดกัน บิดเวียน เกสรเพศผู้ 10-15 อัน เรียง 1-2 วง อับเรณูมี 4 ช่อง รูปกลม ๆ
                                                                        คู่ในมักสั้นกว่าคู่นอก ก้านชูอับเรณูสั้น แกนอับเรณูมีรยางค์ยาว ก้านชูอับเรณู
                                                                        แผ่กว้างช่วงโคน ส่วนมากฐานเกสรเพศเมียไม่ชัดเจน ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม
                                                                        หรือจัก 3 พู ไม่ชัดเจน ผลแบบเปลือกแข็งเมล็ดเดียว โคนกลีบเลี้ยงหนา กลีบเลี้ยง
                                                                        ขยายเป็นปีกยาว 2 ปีก รูปใบพาย ปีกสั้น 3 ปีก รูปรีถึงรูปใบหอก หรือไม่ขยาย
                                                                        เป็นปีกทั้ง 5 กลีบ ปลายผลมีติ่งแหลม
                                                                           สกุล Hopea อยู่ภายใต้เผ่า Shoreae ที่โคนกลีบเลี้ยงในผลเรียงซ้อนเหลื่อม แยกเป็น
                                                                           sect. Dryobalanoides เส้นแขนงใบแบบกึ่งหรือเส้นใบแซม ฐานก้านเกสรเพศเมีย
                                                                           ไม่คอดเว้า และ sect. Hopea เส้นแขนงใบแบบขนนก เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได
                                                                           ฐานก้านเกสรเพศเมียคอดเว้าหรือไม่คอด มีประมาณ 100 ชนิด พบที่อินเดีย
                                                                           ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยมีประมาณ
                                                                           20 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน David Heinrich Hoppe
                      ตะเคียนชันตาหนู: ปลายใบยาวคล้ายหาง เส้นแขนงใบกึ่งเส้นใบแซม กลีบเลี้ยงไม่ขยายเป็นปีก ยาวเท่า ๆ กัน
                    รูปรีกว้างเกือบกลม หุ้มผล (ภาพ: สุคิริน นราธิวาส - MP)  (1760-1846)

                                                                                                                     161






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   161                                                                 3/1/16   5:26 PM
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186