Page 185 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 185
ตะแบกเลือด สารานุกรมพืชในประเทศไทย ตะลุมพุก
Terminalia mucronata Craib & Hutch.
วงศ์ Combretaceae
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกเรียบลอกเป็นแผ่น เป็นแอ่งตื้น ๆ
เปลือกในสีน�้าตาลแดง มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ใบอ่อน ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง
ช่อดอก และผล ใบเรียงเกือบตรงข้าม รูปรีถึงรูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว
ตะแบกเกรียบ: มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามช่อดอก หลอดกลีบเลี้ยงด้านนอก ปลายกลีบด้านใน และปลายผล
หลอดกลีบเลี้ยงเรียบ (ภาพ: แม่เลา-แม่แสะ เชียงใหม่ - SSi) 8-25 ซม. ปลายมนหรือเว้าตื้น ๆ เส้นแขนงใบโค้งจรดกันใกล้ขอบใบ เส้นใบย่อย
แบบขั้นบันได ใบแก่สีแดง ก้านใบยาว 1-3 ซม. มีต่อมนูนหนึ่งคู่ที่ด้านข้างก้านใบ
ใกล้โคน ช่อดอกยาว 9-15 ซม. ออกพร้อมผลิใบใหม่ ดอกสีครีม หลอดกลีบเลี้ยง
ยาว 0.5-1 มม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก ขนาดเล็ก จักมน เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาว
3-4 มม. จานฐานดอกมีขนหนาแน่น ก้านยอดเกสรเพศเมียยาว 2-3 มม. ผลมี 2 ปีก
กว้าง 5-8 มม. ยาว 1.5-3 ซม. โคนและปลายเป็นสันคม ปีกกว้าง 1.5-4 ซม.
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สมอ, สกุล)
พบที่พม่า และกัมพูชา ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง
ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร
เอกสารอ้างอิง
ตะแบกดอกขาว: ดอกสีขาว หลอดกลีบเลี้ยงเรียบ กลีบเลี้ยงเกลี้ยง ก้านชูอับเรณูวงนอกสีม่วง อับเรณูสีด�า วงในสี Nanakorn, W. (1985). The genus Terminalia (Combretaceae) in Thailand. Thai
เขียวอมขาว อับเรณูสีเหลือง (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก; ภาพดอก - SR, ภาพผล - PK)
Forest Bulletin (Botany) 15: 77-79.
ตะแบกเลือด: ใบเรียงเกือบตรงข้าม มีต่อมนูนกลมหนึ่งคู่ที่ด้านข้างของก้านใบใกล้โคนใบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด
ออกตามซอกใบ ผลมี 2 ปีก โคนและปลายผลเป็นสันคม (ภาพดอก: ภูกระดึง เลย - SR; ภาพผล: มุกดาหาร - PK)
ตะลุมพุก
Tamilnadia uliginosa (Retz.) Tirveng. & Sastre
ตะแบกเตี้ย: ช่อดอกและกลีบเลี้ยงมีขนสั้นนุ่มและขนกระจุกสีน�้าตาลแดง เกสรเพศผู้วงนอก 9-11 อัน ชี้ออกระหว่าง
ช่องว่างกลีบดอกด้านเดียว (ภาพ: โขงเจียม อุบลราชธานี; ภาพช่อดอก - PK, ภาพช่อผล - RP) วงศ์ Rubiaceae
ชื่อพ้อง Gardenia uliginosa Retz., Randia uliginosa (Retz.) Poir.
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 10 ม. กิ่งเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ปลายกิ่ง
เป็นกระจุกมีหนาม 2-4 อัน หนามยาว 0.5-1.5 ซม. หูใบร่วมรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก
ใบเรียงตรงข้ามเป็นกระจุกสั้น ๆ ส่วนมากรูปไข่กลับ ยาว 3-22 ซม. โคนเรียวสอบ
จรดก้านใบ ก้านใบยาวได้ถึง 2 ซม. ช่อดอกตามซอกใบ ลดรูปมีดอกเดียว ดอก
สมบูรณ์เพศหรือดอกเพศเมียขนาดใหญ่ เกือบไร้ก้าน ดอกเพศผู้ขนาดเล็ก ก้านยาว
ได้ถึง 2 ซม. ดอกสีขาวเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 ซม.
กลีบเลี้ยงเป็นหลอดสั้น ปลายแยก 5-8 แฉก กลม ๆ ขนาดเล็ก ติดทน ดอกบิดเวียน
รูปวงล้อ หลอดกลีบดอกสั้นมาก ปากหลอดเกลี้ยงหรือมีขนหนาแน่น มี 5-8 กลีบ
ตะแบกนา: ดอกสีชมพูหรือม่วง สีขาวซีดในดอกแก่ หลอดกลีบเลี้ยง มี 10-12 สัน (ภาพ: cultivated - RP) เกสรเพศผู้ติดที่ปากหลอดกลีบระหว่างกลีบดอก อับเรณูไร้ก้านกางออก ยาว
0.8-1 ซม. รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียสั้น หนา ยอดเกสรเพศเมียรูปกระบอง
แยก 2 แฉก ยาว 0.8 -1 ซม. ผลรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 5-9 ซม. ผนังผลหนา
เนื้อนุ่ม เมล็ดจ�านวนมาก ผลของดอกเล็กมีขนาดประมาณกึ่งหนึ่ง เมล็ดมักฝ่อ
พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้น
ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ กระจายห่าง ๆ ในป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณ
ความสูง 100-500 เมตร ในอินเดียผลอ่อนต้มหรือเผากินเป็นผัก น�้าคั้นจากใบแก้
หลอดลมอักเสบ ผลสุกแก้บิด เปลือกและผลดิบใช้เบื่อปลา
สกุล Tamilnadia Tirveng. & Sastre มีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามชื่อรัฐ
Tamil Nadu ในอินเดีย
เอกสารอ้างอิง
Brandis, D. 2 reprint. (1978). Indian Tree. Bishen Singh Mahendra Pal Singh,
nd
Dehra Dun.
Puff, C., K. Chayamarit and V. Chamchumroon. (2005). Rubiaceae of Thailand.
ตะแบกเปลือกบาง: หลอดกลีบเลี้ยงมีขนกระจุกสั้นนุ่ม มี 12 สัน เห็นไม่ชัดเจน เกสรเพศผู้วงนอก 6-7 อัน ผลรูปรีกว้าง
เกลี้ยง (ภาพดอก: ภูวัว บึงกาฬ - PK; ภาพผล: ผาแต้ม อุบลราชธานี - BD) Forest Herbarium. Bangkok.
165
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 165 3/1/16 5:27 PM