Page 190 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 190

ตานทราย
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                       พบที่อินเดีย เนปาล พม่า และภาคเหนือของไทยที่เชียงใหม่ ล�าปาง และตาก
                                                                     ขึ้นใต้ร่มเงาหรือชายป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณ ความสูง 100-400 เมตร
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Staples, G. and P. Traiperm. (2010). Convolvulaceae (Argyreia). In Flora of
                                                                          Thailand Vol. 10(3): 364-365.

                  ตานด�า: แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ กลีบเลี้ยงแฉกลึกเกือบจรดโคน พับงอกลับในผล
                (ภาพดอกเพศเมีย: สระบุรี - PT; ภาพผล: เพชรบุรี - RP)
                ตานทราย
                Actinostachys digitata (L.) Wall. ex C. F. Reed
                วงศ์ Schizaeaceae
                  ชื่อพ้อง Acrostichum digitatum L., Schizaea digitata (L.) Sw.
                   เฟินขึ้นบนพื้นดิน มีเหง้าสั้น ทอดเลื้อย ใบออกเป็นกระจุกที่ปลายเหง้า 4-10 ใบ
                ตั้งขึ้นคล้ายหญ้า แผ่นใบแบนคล้ายมีปีก เรียวยาว ยาว 15-45 ซม. กว้าง 2-5 มม.   ตานฟัก: มีขนยาวสีเงินตามแผ่นใบด้านล่าง ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยก 2 แขนง ดอกรูปแตร สีชมพูหรือม่วงอ่อน
                ปลายแหลม ขอบใบเรียบ เส้นกลางใบชัด เส้นแขนงใบไม่ชัด แผ่นแข็งเป็นมันวาว   ด้านในมีสีเข้ม กลีบเลี้ยงติดทน พับงอกลับ (ภาพดอก: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี - PK; ภาพผล: บ้านตาก ตาก - RP)
                บิดเป็นเกลียวเล็กน้อย ด้านล่างมีต่อมขนกระจาย ก้านใบสั้นหรือไม่ชัดเจน อับสปอร์  ตานโมย
                เกิดที่ปลายใบที่แยกเป็น 5-20 แฉก ยาว 2-5 ซม. กลุ่มอับสปอร์เกิดด้านใน
                ตลอดความยาวแฉก                                       Apostasia nuda R. Br.
                   พบที่มาดากัสการ์ อินเดีย จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย   วงศ์ Orchidaceae
                และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทางภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตาม  กล้วยไม้ดิน สูงได้ถึง 70 ซม. เหง้ามีเกล็ดปกคลุม ใบเรียงเวียน รูปแถบ ยาว
                ชายป่าดิบชื้นใกล้ชายฝั่งทะเล หรือป่าพรุ ความสูงระดับต�่า ๆ  13-45 ซม. ปลายเรียวแหลมเป็นหลอดรูปเส้นด้าย ยาวได้ถึง 1 ซม. โคนเรียวสอบ
                                                                     เป็นกาบ เส้นใบจ�านวนมาก ช่อดอกแบบช่อกระจะโค้งลง ใบประดับช่วงโคนไม่มีดอก
                   สกุล Actinostachys Wall. ลักษณะคล้ายสกุล Schizaea ที่ใบแยกแขนง มีมากกว่า   เรียงหนาแน่น แต่ละช่อมีได้ถึง 12 อัน รูปใบหอกปลายแหลม ยาวได้ถึง 2 ซม.
                   10 ชนิด ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ A. wagneri (Selling) C. F. Reed พบที่พังงา   ใบประดับขนาดเล็กกว่าใบประดับที่โคน ติดทน ดอกสีครีมหรือเหลือง กลีบเลี้ยง
                   ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “actinos” แฉกรัศมี และ “stachys” ช่อเชิงลด ตาม   และกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 3 กลีบ คล้ายรูปเรือ ยาวเท่า ๆ กัน ยาว 3.3-4.5 มม.
                   ลักษณะอับสปอร์เกิดที่ปลายใบที่แยกเป็นแฉก          เส้าเกสรโค้งงอ ยาว 0.5-1 มม. เกสรเพศผู้ 2 อัน ยาว 3-4 มม. ก้านชูอับเรณูสั้น
                  เอกสารอ้างอิง                                      เชื่อมติดโคนก้านเกสรเพศเมีย อับเรณูติดที่ฐาน หุ้มเกสรเพศเมีย โคนเป็นเงี่ยง
                   Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and   ปลายแกนอับเรณูมีรยางค์สั้น ๆ ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม
                      Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/  ผลแห้งแตก เรียวแคบ ยาว 1.2-1.5 ซม. มีสันตื้น ๆ 3 สัน เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก
                   Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1979). Schizaeaceae (Schizaea digitata). In Flora   รังไข่รวมก้านดอกยาว 0.8-1.2 ซม.
                      of Thailand Vol. 3(1): 58.
                   Xianchun, Z. and J.T. Mickel. (2013). Schizaeaceae (Schizaea digitata). In Flora   พบที่พม่า กัมพูชา เวียดนาม คาบสมุทรมลายู ชวา สุมาตรา และบอร์เนียว
                      of China Vol. 2-3: 122.                        ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉียงใต้
                                                                     และพบมากทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง 100-500 เมตร

                                                                       สกุล Apostasia Blume เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Apostasiaceae ร่วมกับสกุล Neuwiedia
                                                                       ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Apostasioideae ซึ่งต่างจากกล้วยไม้ทั่ว ๆ ไปที่อับเรณูอันเดียว
                                                                       และก้านชูอับเรณูเชื่อมติดก้านเกสรเพศเมียเป็นเส้าเกสร (gynostemium)
                                                                       มี 8 ชนิด พบในเอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                       “apostasia” แยกออกจาก หมายถึงสกุลที่แยกออกมาจากพืชพวกกล้วยไม้

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Chen, X., S.W. Gale and P.J. Cribb. (2009). Orchidaceae (Apostasia). In Flora
                                                                          of China Vol. 25: 20.
                  ตานทราย: ใบออกเป็นกระจุกคล้ายหญ้า อับสปอร์เกิดที่ปลายใบที่แยกเป็น 5-20 แฉก กลุ่มอับสปอร์เกิดด้านใน  Larsen, K. and E.F. de Vogel. (1972). Apostasiaceae. In Flora of Thailand Vol.
                ตลอดความยาวใบที่แยกเป็นแฉก (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
                                                                          2(2): 134-137.
                ตานฟัก
                Argyreia roxburghii (Sweet) Choisy
                วงศ์ Convolvulaceae
                  ชื่อพ้อง Ipomoea roxburghii Sweet
                   ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 4 ม. ล�าต้นมีขนขาวกระจาย มีขนยาวสีเงินตามแผ่นใบ
                ด้านล่าง ใบประดับ และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม ยาว
                7-19 ซม. ก้านใบยาว 3-9 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยก 2 แขนง ก้านช่อสั้น
                หรือยาวได้ถึง 10 ซม. ใบประดับช่วงโคนคล้ายใบ รูปไข่กว้าง ยาว 4-7 ซม. ติดทน
                ใบประดับและใบประดับย่อยรูปขอบขนาน ยาว 1.2-2 ซม. ร่วงเร็ว ก้านดอกสั้น
                กลีบเลี้ยงกลีบนอก 3 กลีบ รูปรี ยาว 1-1.2 ซม. กลีบคู่ในรูปไข่ขนาดเล็กกว่า
                ขยายพับและงอกลับในผล ดอกรูปแตร สีชมพูหรือม่วงอ่อน ปากหลอดสีเข้ม ยาว
                5-6.5 ซม. เกสรเพศผู้ยาวไม่เท่ากัน ยาว 1.6-2.4 ซม. ที่จุดติดบนหลอดกลีบมี
                ต่อมขน จานฐานดอกรูปวงแหวน รังไข่เกลี้ยง ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.3-1.5 ซม.   ตานโมย: ใบเรียงเวียน รูปแถบ ช่อดอกแบบช่อกระจะโค้งลง ใบประดับช่วงโคนไม่มีดอก เรียงหนาแน่น
                สุกสีเหลืองหรือด�า (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เครือพุงหมู, สกุล)  (ภาพ: เขาคิชฌกูฏ จันทบุรี - TP)

                170






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   170                                                                 3/1/16   5:29 PM
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195