Page 188 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 188

ต่างหูโนรา


                ต่างหูโนรา          สารานุกรมพืชในประเทศไทย            พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรลายู สุมาตรา
                Brachylophon anastomosans Craib                      บอร์เนียว ฟิลิปปินส์ และซูลาเวซี ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค ส่วนมากขึ้น
                                                                     ตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                วงศ์ Malpighiaceae
                   ไม้พุ่ม สูงกว่า 1 ม. กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม มีขนสีน�้าตาลตามข้อ หูใบ 2 อัน รูปเข็ม  สกุล Triadica Lour. เดิมอยู่ภายใต้สกุล Sapium sect. Triadica หรือสกุล
                ยาวประมาณ 3 มม. ใบเรียงตรงข้าม แผ่นใบบาง รูปรีถึงรูปแถบ ยาว 10-15 ซม.   Excoecaria sect. Triadica มี 3-4 ชนิด ส่วนมากพบในเอเชียตะวันออกและ
                ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบเรียงจรดกันห่างจากขอบใบ 0.5-1.2 ซม.   ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “tria” สาม ตาม
                ก้านใบยาว 2-7 มม. เป็นร่องชัดเจน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบหรือ  จำานวนกลีบเลี้ยงในดอกเพศเมีย และรังไข่มี 3 ช่อง
                ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 12 ซม. ก้านดอกยาว 3-7 มม. มีติ่งใกล้โคน ใบประดับ 1 อัน   เอกสารอ้างอิง
                ใบประดับย่อย 2 อัน ขนาดเล็ก ติดทน ขอบมีขนครุย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรี ปลายมน   Esser, H.-J. and P.C. van Welzen. (2007). Euphorbiaceae (Triadica). In Flora of
                ยาว 2-3 มม. ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปรี ยาว 0.8-1.2 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง   Thailand Vol. 8(2): 571-573.
                2 วง วงนอกโค้งเข้าหากัน ยาวกว่าวงใน ก้านชูอับเรณูยาว 5-7 มม. อับเรณูยาว
                3-5 มม. มีรูเปิดที่ปลาย รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว ก้านเกสรเพศเมีย
                3 อัน ยาวประมาณ 1 ซม. ติดทน ผลแยกแล้วแตก 3 ซีก พัฒนาเพียง 1-2 ซีก
                ยาว 1-1.5 ซม. ปลายมีสันคล้ายปีก ผิวเป็นร่างแห เกลี้ยง
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ตอนล่างที่บันนังสตา จังหวัดยะลา ขึ้นตาม
                ป่าดิบชื้น ความสูงประมาณ 50 เมตร รูปร่างใบมีความผันแปรสูง

                   สกุล Brachylophon Oliv. มี 2-3 ชนิด พบในภูมิภาคมาเลเซีย และภาคใต้ของไทย
                   ส่วนโนราต้น B. curtisii Oliv. ดอกสีเหลือง ใบขนาดใหญ่กว่า ก้านดอกยาว 2-3 ซม.
                   พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา และภาคใต้ของไทย นอกจากนี้ ในไทยยัง
                   มีชนิดที่ดอกสีขาว (Brachylophon sp.) ช่อดอกและก้านดอกหนา สั้น ชื่อสกุล  ตาตุ่มตรี: โคนใบด้านบนมีต่อม 2 ต่อม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อเชิงลด ออกที่ปลายกิ่ง
                   มาจากภาษากรีก “brachys” สั้น และ “lophon” สัน ตามลักษณะปลายผล  ดอกเพศเมียอยู่โคนช่อ (ภาพช่อดอก: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi; ภาพช่อผล: บึงโขงหลง บึงกาฬ - RP)
                                                                     ตาตุ่มทะเล, สกุล
                  เอกสารอ้างอิง
                   Sirirugsa, P. 1991. Malpighiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 295-299.  Excoecaria L.
                                                                     วงศ์ Euphorbiaceae
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น แยกเพศต่างต้นหรือร่วมต้น น�้ายางขาว หูใบจักชายครุย
                                                                     ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน เรียงสลับระนาบเดียว หรือตรงข้าม ขอบจักฟันเลื่อยหรือจักมน
                                                                     ปลายจักมีต่อม เส้นใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
                                                                     สั้น ๆ คล้ายช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง ใบประดับและใบประดับย่อยมีต่อม 2 ต่อม
                                                                     กลีบเลี้ยง 3 กลีบ ไม่มีกลีบดอกและจานฐานดอก เกสรเพศผู้ 3 อัน แยกกัน รังไข่ มี
                                                                     3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรแยกเป็น 3 แฉก ติดทน
                                                                     ไม่มีเกสรเพศเมียที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ผลแห้งแตก จุกขั้วเมล็ดติดบนแกน

                                                                       สกุล Excoecaria มี 35-40 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทย
                  ต่างหูโนรา: B. anastomosans ใบเรียงตรงข้าม เส้นแขนงใบเรียงจรดกัน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ดอกสีเหลือง
                เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง 2 วง วงนอกโค้งเข้าหากัน ยาวกว่าวงใน (ภาพ: นราธิวาส - MP)   มี 5 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “excaeco” ทำาให้ตาบอด เนื่องจากน้ำายาง
                                                                       ของพืชหลายชนิดมีพิษรุนแรงถึงทำาให้ตาบอด

                                                                     ตาตุ่มทะเล
                                                                     Excoecaria agallocha L.
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. แยกเพศต่างต้น กิ่งมีช่องอากาศ หูใบยาว
                                                                     ประมาณ 2 มม. ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3.5-11 ซม. มีต่อม 2 ต่อม
                                                                     บนขอบใบใกล้โคน ขอบจักมนไม่ชัดเจน ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 13 ซม. ก้านดอกสั้น
                  ต่างหูโนรา: Brachylophon sp. ดอกสีขาว ช่อดอกและก้านดอกหนา สั้น (ภาพ: ตรัง - RP)  กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม. โคนมักมีติ่ง ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ
                ตาตุ่มตรี                                            1.7 มม. ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจะ ยาวได้ถึง 5 ซม. ก้านดอกยาว 1-5 มม.
                                                                     กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ยอดเกสรยาว
                Triadica cochinchinensis Lour.                       3-3.5 มม. ผลจักเป็นพู กว้างประมาณ 1 ซม. ยาว 5-7 มม. สุกสีแดง เมล็ดกลม
                วงศ์ Euphorbiaceae                                   เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 มม.
                  ชื่อพ้อง Sapium cochinchinense (Lour.) Pax & K. Hoffm., Shirakia cochinchi-  พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาค
                    nensis (Lour.) Hurus.                            มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยขึ้นตามชายป่า
                   ไม้ต้น ผลัดใบ แยกเพศร่วมต้น สูงได้ถึง 25 ม. หูใบขนาดเล็ก ใบเรียงเวียน  โกงกางตามชายฝั่งทะเลทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน
                หนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 3.5-7 ซม. โคนมีต่อม 2 ต่อม เส้นแขนงใบ
                ออกใกล้โคน 1 คู่ ก้านใบยาว 1-3 ซม. ใบอ่อนสีน�้าตาลอมแดง ช่อดอกแบบช่อกระจุก  ตาตุ่มนก
                แยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อเชิงลด ออกที่ปลายกิ่ง ช่วงดอกเพศผู้ยาว 25-70 ซม.   Excoecaria cochinchinensis Lour. var. viridis (Pax & K. Hoffm.) Merr.
                ดอกออกเป็นกระจุก 5-8 ดอก โคนใบประดับมีต่อม 2 ต่อม ก้านดอกยาว 2-3 มม.
                ไม่มีกลีบดอก กลีบเลี้ยง 3-6 กลีบ ยาวประมาณ 1 มม. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. แยกเพศร่วมต้น หูใบยาวประมาณ 2 มม. ใบเรียงตรงข้าม
                1 มม. ดอกเพศเมียอยู่โคนช่อ มีได้ถึง 13 ดอกในแต่ละช่อกระจุก ก้านดอกยาว   หรือเรียงสลับระนาบเดียว รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 4-14 ซม. ก้านใบยาว 0.4-1 ซม.
                2-4 มม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบ ยาว 1-2 มม. ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยอดเกสรเพศเมีย  ช่อดอกสั้นหรือยาวได้ถึง 5 ซม. ดอกเพศเมียอยู่ที่โคน ดอกเพศผู้ ก้านดอกสั้น
                ยาว 2-3 มม. ผลแห้งแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-9 มม. มี 3 เมล็ด ติดบนกลางแกน   กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาว 0.6-1 มม. ขอบจักชายครุย ก้านชูอับเรณูยาว
                กลม ขนาด 3.5-5 มม.                                   ประมาณ 1 มม. ดอกเพศเมียก้านดอกขยายในผล ยาวได้ถึง 3 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่

                168






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   168                                                                 3/1/16   5:28 PM
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193