Page 186 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 186

ตังตาบอด
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     ยื่นพ้นปากหลอดกลีบเล็กน้อย ยอดเกสรจัก 2 พู ย่น ผลเป็นกระเปาะรูปกรวย
                                                                     ยาว 0.6-1 ซม. เปลือกบาง หุ้มด้วยกลีบเลี้ยง ปีกยาว 3.5-4 ซม. มีเมล็ดเดียว
                                                                     สีน�้าตาลด�า รูปรี ยาว 4-5 มม.
                                                                       พบที่เวียดนามตอนใต้ ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้
                                                                     และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามชายป่า ที่โล่งแห้งแล้ง ความสูงระดับต�่า ๆ
                                                                       สกุล Tridynamia Gagnep. มี 4 ชนิด พบเฉพาะในเอเชีย ในไทยมี 3 ชนิด อีก
                                                                       2 ชนิด ดอกขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อย กลีบเลี้ยงขยายเป็น 3 ปีก ชื่อสกุลมาจาก
                                                                       ภาษากรีก “tridynamos” สามพลัง หมายถึงกลีบเลี้ยงที่ขยายเป็นปีก 3 ปีก

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thaialnd Vol. 10(3): 463.


                  ตะลุมพุก: ใบเรียงตรงข้ามเป็นกระจุกสั้น ๆ ช่อดอกลดรูปมีดอกเดียว ดอกขนาดเล็กมีก้าน ดอกขนาดใหญ่เกือบไร้ก้าน
                (ภาพซ้ายดอกขนาดเล็ก: หนองคาย - RP; ภาพขวาดอกขนาดใหญ่: ตาก - RP; ภาพผล: ตาก - SSi)
                ตังตาบอด
                Excoecaria oppositifolia Griff.
                วงศ์ Euphorbiaceae
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบรูปรี ยาวประมาณ 5 มม.
                ใบเรียงตรงข้าม รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 9-30 ซม. แผ่นใบหนา ขอบจักฟันเลื่อย   ตับเต่า: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ดอกรูปแตร มี 5 กลีบตื้น ๆ ปลายเว้าตื้น ขอบจักไม่เป็นระเบียบ ผลมี
                ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 25 ซม. ก้านดอกสั้น ไม่มีกลีบดอก กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปไข่   กลีบเลี้ยงหุ้ม ขยายเป็นปีกยาว 2 ปีก (ภาพดอก: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK; ภาพผล: ห้วยยาง ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
                ยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 1-1.5 มม. ช่อดอกเพศเมีย
                มีดอกเดียว ก้านดอกยาว ยาว 1.2-1.7 ซม. ในผล ใบประดับและกลีบเลี้ยงยาวกว่า  ตับเต่าต้น
                ในดอกเพศผู้เล็กน้อย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 มม. ยอดเกสรยาวกว่า  Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don
                ก้านเล็กน้อย ติดทน ผลรูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-6 ซม. จักเป็นพูตื้น ๆ เมล็ด  วงศ์ Ebenaceae
                รูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 1 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตาตุ่มทะเล, สกุล)  ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรีหรือรูปไข่กว้าง ยาว 10-28 ซม. ปลายมน โคนกลม
                   พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตาม  หรือเว้าตื้น เส้นใบย่อยแบบร่างแหชัดเจน ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยง
                ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น โดยเฉพาะริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ   และกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 4 กลีบ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกสั้นๆ ก้านดอก
                1500 เมตร น�้ายางท�าให้ระคายเคืองผิวหนัง เข้าตาท�าให้ตาพร่ามัว   ยาวประมาณ 3 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 2-3 มม. แฉกลึกประมาณหนึ่งส่วนสาม
                                                                     มีขนด้านนอก ดอกรูปคนโท ยาว 3-5 มม. แฉกลึก เกสรเพศผู้มี 20-30 อัน รังไข่
                  เอกสารอ้างอิง
                   van Welzen, P.C. and H.-J. Esser. (2005). Euphorbiaceae (Excoecaria). In Flora   ที่ไม่เจริญมีขนยาว ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ กลีบเลี้ยง
                      of Thailand Vol. 8(1): 298.                    แฉกลึก ด้านนอกมีขน รังไข่มีขนคล้ายขนแกะ มี 6 ช่อง ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
                                                                     ผลเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรี แฉกลึก พับงอกลับ
                                                                     ก้านผลยาวประมาณ 1 ซม. เอนโดสเปิร์มมีลาย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)
                                                                       พบที่พม่า ลาว และกัมพูชา ในไทยพบกระจายแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้
                                                                     ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ความสูง 100-500 เมตร

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 319.









                  ตังตาบอด: ใบเรียงตรงข้าม ขอบจักฟันเลื่อย ผลจักเป็นพูตื้น ๆ เกสรเพศเมียติดทน (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi)
                                                                      ตับเต่าต้น: ใบรูปรีหรือรูปไข่กว้าง ปลายมน กลีบเลี้ยงแฉกลึก พับงอกลับ (ภาพ: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี - PK)
                ตับเต่า                                              ต่างไก่, สกุล
                Tridynamia bialata (Kerr) Staples                    Polygala L.
                วงศ์ Convolvulaceae                                  วงศ์ Polygalaceae
                  ชื่อพ้อง Porana bialata Kerr                         ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม หรือไม้เถาเนื้อแข็ง ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง
                   ไม้เถา ล�าต้นมีขนละเอียด ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ ยาว 5.5-10 ซม.   หรือตั้งขึ้น ใบประดับส่วนมากมี 3 ใบ ส่วนมากร่วงเร็ว ไม่มีใบประดับย่อย กลีบเลี้ยง
                ก้านใบยาว 1.5-4.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ใบประดับที่โคนคล้ายใบ   5 กลีบ กลีบนอก 3 กลีบ ขนาดเล็กกว่ากลีบคู่ในที่คล้ายกลีบดอก (alae) กลีบดอก
                รูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 2.5-3.5 ซม. ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก   3 กลีบ กลีบบน 2 กลีบ เชื่อมติดกัน กลีบล่าง (keel) รูปเรือ หุ้มอับเรณูและ
                ก้านดอกยาว 4-8 มม. กลีบเลี้ยงคู่นอกรูปขอบขนาน ยาว 3-4 มม. ขยายเป็น  ยอดเกสรเพศเมีย ปลายกลีบจัก 2 พู มีรยางค์คล้ายแปรง เกสรเพศผู้ 8 อัน
                ปีกในผล 3 กลีบในขนาดเล็ก ดอกรูปแตร สีขาวอมเหลืองอ่อน ๆ โคนสีเข้ม ยาว   เชื่อมติดกันเป็นแผ่น เชื่อมติดกลีบดอก รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว
                0.8-1.5 ซม. มี 5 กลีบตื้น ๆ ปลายเว้าตื้น ขอบจักไม่เป็นระเบียบ เกสรเพศผู้ 5 อัน   ปลายโค้ง ยอดเกสรจักเป็นพู ผลแห้งแตก แบน ขอบเป็นปีก มี 2 เมล็ด ส่วนมากสีด�า
                ติดภายในหลอดกลีบ ยาวไม่เท่ากัน ยาว 3-6 มม. อับเรณูเป็นเงี่ยง ก้านเกสรเพศเมีย  มีเยื่อหุ้ม ปลายบางครั้งมีรยางค์กลวง (strophiole)

                166






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   166                                                                 3/1/16   5:27 PM
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191