Page 191 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 191
ตาลปัตรฤาษี สารานุกรมพืชในประเทศไทย ตาลเหลือง
Limnocharis flava (L.) Buchenau
วงศ์ Alismataceae
ชื่อพ้อง Alisma flavum L.
ไม้น�้าล้มลุก ก้านใบ ก้านช่อดอก และก้านดอกรูปสามเหลี่ยม ใบยื่นพ้นน�้า
รูปไข่ ยาว 6.5-28 ซม. ปลายกลมหรือมีติ่ง ก้านใบยาว 12-85 ซม. โคนมีกาบ
ยาวได้ถึง 20 ซม. ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ออกที่ยอด ติดบนวงใบประดับ มี 3-12 ดอก
ก้านช่อยาว 10-60 ซม. ใบประดับรูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 1.5-2.5 ซม. ปลายกลม
หรือมีติ่ง ก้านดอกยาว 4-8 ซม. กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปไข่ ยาว 1.6-1.7 ซม. ติดทน ตาลมังกร: เฟินอิงอาศัย เหง้าอวบหนา ใบเรียงสลับ 2 แถว ห่าง ๆ มีช่วงต่อโคนก้านใบสั้น ๆ กลุ่มอับสปอร์กลม
ดอกสีเหลือง มี 3 กลีบ รูปไข่กว้างเกือบกลม ยาว 2-2.5 ซม. เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เรียงเป็นแถวระหว่างเส้นกลางใบและขอบใบ เว้าเป็นแอ่งด้านล่าง นูนด้านบน (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
วงนอกส่วนมากเป็นหมัน ก้านชูอับเรณูแบน ยาวประมาณ 4.5 มม. มี 5-20 คาร์เพล ตาลเหลือง
ติดกันที่โคน ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ผลแตกแนวเดียว
จากด้านใน รูปครึ่งวงกลม ผลย่อยยาว 1-1.6 ซม. เมล็ดจ�านวนมากรูปตัวยู Ochna integerrima (Lour.) Merr.
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเขตร้อน ขึ้นเป็นวัชพืชตามที่ชื้นแฉะและแหล่งน�้าใน วงศ์ Ochnaceae
แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก หรือพบเป็นไม้ประดับ ใบอ่อน ชื่อพ้อง Elaeocarpus integerrimus Lour.
ก้านใบอ่อน และช่อดอก กินเป็นผักสด ทั้งต้นใช้เลี้ยงสัตว์ ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน
ถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 6-25 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว
สกุล Limnocharis Bonpl. มี 2 ชนิด มีถิ่นกำาเนิดในอเมริกาเขตร้อน ชื่อสกุลมาจาก 1-5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ยาวได้ถึง 4 ซม. ก้านดอกยาว
ภาษากรีก “limne” บ่อน้ำา และ “charis” ความงาม หมายถึงพืชน้ำาที่มีความสวยงาม 2-4 ซม. ฐานดอกขยายในผล กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว
1-1.6 ซม. ขยายในผล ดอกสีเหลือง มี 5-7 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1.5-2.5 ซม.
เอกสารอ้างอิง
Haynes, R.R. (2001). Limnocharitaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 384-385. มีก้านกลีบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เรียง 2-3 วง ก้านชูอับเรณูยาว 3-7 มม. วงนอก
Wang, Q., R.R. Haynes and C.B. Hellquist. (2010). Alismataceae. In Florta of ยาวกว่าวงใน ติดทน มีสีแดงในผล อับเรณูรูปแถบยาว 4-6 ซม. มีช่องเปิดที่ปลาย
China Vol. 23: 89. มี 6-15 คาร์เพล ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-1.5 ซม. มีโคนก้าน ยอดเกสรจักเป็นพูตื้น ๆ
ผลย่อยแบบผนังชั้นในแข็ง มี 3-15 ผล ติดบนฐานดอกใกล้โคน รูปรี ยาวประมาณ
1 ซม. สุกสีด�า กลีบเลี้ยงติดทน สีแดง พับงอกลับ ยาวประมาณ 2 ซม.
พบที่อินเดีย ปากีสถาน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทย
พบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และชายฝั่งทะเล ความสูง
ถึงประมาณ 1200 เมตร เปลือกและผลแก้โรคบิดถ่ายมีมูกเลือด
สกุล Ochna L. มี 85 ชนิด ส่วนใหญ่พบในแอฟริกา ในเอเชียมี 4 ชนิด ในไทยมี
พืชพื้นเมืองชนิดเดียว และเป็นไม้ประดับอีก 1 ชนิด คือ มิกกี้เม้าส์ O. thomasiana
Engl. & Gilg ซึ่งมักเข้าใจผิดว่าเป็น O. kirkii Oliv. มีถิ่นกำาเนิดในแอฟริกา
ตาลปัตรฤๅษี: ก้านใบ ก้านช่อ และก้านดอกรูปสามเหลี่ยม ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ติดบนวงใบประดับ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจำานวนอย่างละ 5 กลีบ ก้านชูอับเรณูยาวประมาณกึ่งหนึ่ง
(ภาพ: กรุงเทพฯ; ภาพซ้าย - MP, ภาพขวา - RP) ของอับเรณู ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “ochne” แพร์ป่า ที่ใช้เรียกพืชสกุลนี้
ตาลมังกร เอกสารอ้างอิง
Lecanopteris sinuosa (Wall. ex Hook.) Copel. Kanis, A. (1970). Ochnaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 25-26.
วงศ์ Polypodiaceae
ชื่อพ้อง Polypodium sinuosum Wall. ex Hook., Myrmecophila sinuosa (Wall.
ex Hook.) Nakai ex H. Ito
เฟินอิงอาศัย เหง้าอวบหนา เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 ซม. กลวงเป็นที่อยู่ของมด
มีเกล็ดสีน�้าตาลด�าหนาแน่น ขนาดประมาณ 3 มม. ใบเรียงสลับ 2 แถว ห่าง ๆ
1.5-2 ซม. ช่วงต่อโคนก้านใบ (phyllopodia) ยาวประมาณ 5 มม. ก้านใบยาว
3-8 ซม. ช่วงบนเป็นปีกแคบ ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 15-38 ซม. ใบไม่สร้าง
สปอร์กว้างประมาณ 3.5 ซม. ใบสร้างสปอร์เรียวแคบ ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น
เส้นกลางใบนูนสองด้าน เส้นแขนงใบแบบร่างแห กลุ่มอับสปอร์กลม เรียงเป็นแถว
ระหว่างเส้นกลางใบและขอบใบ เว้าเป็นแอ่งด้านล่าง นูนชัดเจนด้านบนแผ่นใบ
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3.5 มม.
พบที่กัมพูชา เวียดนาม คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และหมู่เกาะโซโลมอน ในไทย
พบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกาะบนต้นไม้ ตาลเหลือง: ดอกออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ผลย่อยติดบนฐานดอกที่ขยาย
ในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น หรือชายป่าพรุ ความสูงระดับต�่า ๆ เกสรเพศผู้ติดทน สีแดง (ภาพดอก: แม่สะนาม เชียงใหม่, ภาพผล: เขาหลัก พังงา; - RP)
สกุล Lecanopteris Reinw. เป็นกลุ่มเฟินรังมด มีประมาณ 13 ชนิด พบใน
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และนิวกินี ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
“lekane” จาน และ “pteris” เฟิน ตามรูปร่างกลุ่มอับสปอร์
เอกสารอ้างอิง
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae (Myrmecophila sinuosa). In
Flora of Thailand Vol. 3(4): 535. มิกกี้เม้าส์: กลีบดอก 5 กลีบ ก้านชูอับเรณูยาวประมาณกึ่งหนึ่งของอับเรณู (ภาพ: cultivated - RP)
171
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 171 3/1/16 5:29 PM