Page 195 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 195
ติ้วขาว
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
แยกเป็น 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 2-4 มม. ขยายเป็นปีกในผล มีเส้นกลีบ ก้านใบยาว 2-7 มม. ปลายมนหรือแหลม โคนรูปลิ่มกว้าง ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง ช่อดอก
3 เส้น ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2-3 มม. รังไข่ใต้วงกลีบ มี 1-8 ดอก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบที่หลุดร่วง ก้านดอกยาว 0.3-1 ซม. กลีบเลี้ยง
ผลคล้ายผลเทียม แห้ง มี 5 สัน รูปไข่ ยาว 1.8-2.3 ซม. รวมกลีบเลี้ยงคล้ายปีกที่ รูปขอบขนาน ยาว 5-7 มม. ปลายมน มีต่อมเป็นริ้วกระจาย ดอกสีขาวอมชมพู
ยาว 1-1.4 ซม. ผิวเป็นร่างแห มีเกล็ดและขนยาว กลีบรูปไข่กลับ ยาว 1-1.5 ซม. มีก้านสั้น ๆ ปลายกลีบมีต่อมกระจาย ขอบมีขนครุย
พบที่อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ปลายกลม มีเกล็ดขนาดเล็ก มัดเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1 ซม. ระหว่างมัดมีเกล็ด
ในไทยพบทุกภาค กระจายห่าง ๆ ตามที่โล่ง และชายป่า ความสูงถึงประมาณ รูปลิ้นขนาดเล็ก ก้านชูอับเรณูยาวเท่า ๆ มัดเกสรเพศผู้ แกนอับเรณูไม่มีต่อม
600 เมตร มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-8 มม. ผลรูปขอบขนาน ยาว 0.6-1.5 ซม.
กลีบเลี้ยงหุ้มประมาณกึ่งหนึ่ง เมล็ดยาว 6-7 มม. รวมปีก
สกุล Getonia Roxb. มีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลไม่พบอ้างอิงที่มาของชื่อ
พบที่จีนตอนใต้ ไห่หนาน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทย
เอกสารอ้างอิง พบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นในป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง
Cheng, J. and N.J. Turland. (2007). Combretaceae. In Flora of China Vol. 13: 315. ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร แยกเป็น ติ้วขน subsp. pruniflorum (Kurz)
Gogelein มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านใบ ก้านดอก และกลีบเลี้ยง
กลีบดอกมีต่อมโปร่งแสง แกนอับเรณูมีต่อม เปลือกแก้ท้องร่วงในสัตว์เลี้ยง ใบอ่อน
ชงแทนใบชาคล้ายติ้วเกลี้ยง
เอกสารอ้างอิง
Li, X.W., J. Li and P. Stevens. (2007). Clusiaceae (Cratoxylum). In Flora of
China Vol. 13: 36
Robson, N.K. (1974). Hypericaceae. In Flora Malesiana Vol. 8: 4-14.
ติ่งตั่ง: ช่อดอกแบบช่อเชิงลดแยกแขนง ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 10 อัน (ภาพ: น�้าตกสกุโณทยาน พิษณุโลก - RP)
ติ้ว, สกุล
Cratoxylum Blume
วงศ์ Hypericaceae
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ส่วนมากผลัดใบ ใบเรียงตรงข้าม แผ่นใบด้านล่างมักมีจุด
โปร่งแสง ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือแยกแขนง ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง
และกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงขยายในผล เกสรเพศผู้จ�านวนมาก
แยกเป็น 3-5 มัด ระหว่างมัดมีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันคล้ายเกล็ด ก้านชูอับเรณู
เชื่อมติดกันเกินกึ่งหนึ่ง อับเรณูติดด้านหลัง รังไข่มี 3 ช่อง ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน
กางออก ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตกตามยาว เมล็ดมีปีกข้างเดียว ยาวกว่าเมล็ด
หรือปีกรอบเมล็ด ติ้วเกลี้ยง: ล�าต้นและกิ่งเรียบ เกลี้ยง ช่อดอกมี 1-5 ดอก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ระหว่างมัดเกสรเพศผู้
มีเกล็ดหนารูปลิ้นสีเหลือง กลีบเลี้ยงหุ้มผลเกินกึ่งหนึ่ง (ภาพ: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี - MP)
สกุล Cratoxylum เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Clusiaceae (Guttiferae) มี 6 ชนิด พบใน
เอเชีย ในไทยมี 5 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kratos” แข็ง และ “xylon” เนื้อไม้
ติ้วเกลี้ยง
Cratoxylum cochinchinense (Lour.) Blume
ชื่อพ้อง Hypericum cochinchinense Lour.
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. ล�าต้นและกิ่งเรียบ เกลี้ยง มักมีหนาม
ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3-12 ซม. แผ่นใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-5 มม.
ปลายมน แหลม หรือแหลมยาว โคนรูปลิ่ม ช่อดอกมี 1-5 ดอก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ
หรือปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 1-3 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 5-7 มม. ปลายมน มีต่อม
เป็นริ้วกระจาย ดอกสีชมพูอมแดงหรือส้ม กลีบรูปไข่กลับ ยาว 0.5-1 ซม. มีต่อม
กระจาย ปลายกลม ไม่มีเกล็ด มัดเกสรเพศผู้ยาว 4-8 มม. ระหว่างมัดมีเกล็ดหนา
รูปลิ้นสีเหลือง ยาวประมาณ 3 มม. ก้านชูอับเรณูสั้น รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย
ยาวประมาณ 2 มม. ผลรูปรี ยาว 0.8-1.2 ซม. กลีบเลี้ยงหุ้มเกินกึ่งหนึ่ง เมล็ดยาว ติ้วขาว: ต้นอ่อนมีหนาม กิ่งและแผ่นใบเกลี้ยง ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง กลีบเลี้ยงหุ้มผลประมาณกึ่งหนึ่ง (ภาพต้น: ภูพาน
6-8 มม. รวมปีก สกลนคร, ภาพใบอ่อน: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี, ภาพผล: นครสวรรค์; - MP)
พบที่จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และฟิลิปปินส์
ในไทยพบทุกภาค ขึ้นในป่าผลัดใบและไม่ผลัดใบ ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร
ผลอ่อนเป็นเครื่องเทศใช้ปรุงอาหาร รากและกิ่งมีสรรพคุณแก้ไอ ท้องเสีย ใบอ่อนใช้
ชงแทนใบชา
ติ้วขาว
Cratoxylum formosum (Jack) Benth. & Hook. f. ex Dyer
ชื่อพ้อง Elodes formosa Jack
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ผลัดใบ อาจสูงได้ถึง 20 ม. ต้นอ่อนมีหนาม เปลือกแตกเป็น
ติ้วขน: เปลือกแตกเป็นสะเก็ดหนา สีน�้าตาลด�า มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านใบ ก้านดอก และ
สะเก็ดหนา สีน�้าตาลด�า กิ่งเกลี้ยง ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3-10 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง กลีบเลี้ยง (ภาพ: นครสวรรค์ - MP)
175
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 175 3/1/16 5:30 PM