Page 197 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 197

ตีนเป็ด, สกุล                                                  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ตีนเป็ดดอย
                    Alstonia R. Br.
                    วงศ์ Apocynaceae
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น น�้ายางขาว ใบเรียงรอบข้อหรือเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบ
                    ช่อกระจุกแยกแขนงเรียงเป็นวง หรือคล้ายช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ไม่มีต่อมที่โคน
                    ดอกรูปดอกเข็ม สีขาว มี 5 กลีบ เรียงซ้อนทับด้านซ้ายหรือด้านขวาในตาดอก
                                                                          ตีนเป็ดแคระ: ใบเดี่ยวเรียงเป็นวงรอบ แต่ละวงมี 3-4 ใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงเรียงเป็นวง ดอกรูปดอกเข็ม
                    ปากหลอดกลีบมีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก ไม่ยื่นพ้น  กลีบเรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก (ภาพซ้าย: เขาสก สุราษฎร์ธานี - PK; ภาพขวา: ถ�้าเสือ กระบี่ - RP)
                    ปากหลอดกลีบ จานฐานดอกเป็นต่อมแยกกัน ติดระหว่างคาร์เพลหรือเป็นวง
                    คาร์เพลเชื่อมติดกันหรือเชื่อมติดกันตอนปลายจรดก้านเกสรเพศเมีย ออวุลจ�านวนมาก   ตีนเป็ดชายฝั่ง
                    ผลเป็นฝักคู่หรือฝักเดี่ยว เมล็ดรูปขอบขนาน แบน ขอบมีขนครุย  Ochrosia oppositifolia (Lam.) K. Schum.

                       สกุล Alstonia มีประมาณ 40 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา เอเชีย และ  วงศ์ Apocynaceae
                       ออสเตรเลีย ในไทยมี 7 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสกอตแลนด์   ชื่อพ้อง Cerbera oppositifolia Lam.
                       Charles Alston (1685-1760)                          ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบเรียงเป็นวงรอบ 3 ใบหรือเรียงตรงข้าม
                                                                        รูปใบพาย ยาว 5.5-27 ซม. เส้นแขนงใบเรียงขนานกัน มีต่อมตามซอกเส้นใบ
                    ตีนเป็ด                                             ก้านใบยาว 1.5-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกซ้อน ยาว 3.5-13 ซม. ก้านดอก
                    Alstonia scholaris (L.) R. Br.                      ยาว 2-5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 2 มม. โคนไม่มีต่อม ดอกรูป
                      ชื่อพ้อง Echites scholaris L.                     ดอกเข็ม สีขาว กลีบเรียงซ้อนทับกันด้านขวาในตาดอก ด้านในมีขนสั้นนุ่ม
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. กิ่งมีช่องอากาศ หูใบคล้ายเป็นติ่งที่ซอกก้านใบ ใบเรียง  หลอดกลีบยาว 4-5 มม. กลีบ 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 4-7 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน
                    เป็นวง 4-10 ใบ รูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปใบพาย ยาว 4-32 ซม. ปลายแหลมหรือกลม   ติดเหนือกึ่งกลางหลอดกลีบ ไม่ยื่นเลยปากหลอดกลีบ จานฐานดอกจัก 2 พู มี
                    โคนรูปลิ่มหรือเป็นครีบ เส้นใบตรงจ�านวนมาก ก้านใบยาว 0.7-1.5 ซม. ช่อดอกแน่น  2 คาร์เพล ปลายเชื่อมติดกัน เกสรเพศเมียยาว 1-2.5 มม. ผลผนังชั้นในแข็ง
                    เป็นกระจุก ยาว 3-8.5 ซม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1-2 มม. มีขนสั้นนุ่ม  ออกเป็นคู่หรือเจริญผลเดียว รูปไข่ ยาว 6-7 ซม. ผนังผลชั้นกลางเป็นเส้นใยหนา
                    และขนครุย กลีบดอกเรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก หลอดกลีบยาว 0.5-1 ซม.   มี 2-4 เมล็ด รูปรี ยาวประมาณ 3.5 ซม.
                    กลีบรูปรี ยาว 2-5 มม. เกสรเพศผู้ติดเหนือกึ่งกลางหลอดกลีบ จานฐานดอกเป็นต่อม  พบตามหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก และตามชายฝั่งทะเลใน
                    แยกกัน คาร์เพลมีขน เกสรเพศเมียยาว 3-5 มม. ผลออกเป็นฝักคู่ รูปแถบ ยาว   เอเชียเขตร้อน ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ รากมีสรรพคุณ
                    20-55 ซม. เมล็ดรูปขอบขนาน ยาว 4-8 มม. ขนครุยยาว 1-2 มม.  ใช้บรรเทาพิษจากปลาหรือสัตว์ทะเล
                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย   สกุล Ochrosia Juss. มีประมาณ 30 ชนิด พบตามหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย
                    ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง   และแปซิฟิก ถึงออสเตรเลีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “ochros”
                    และป่าดิบชื้น ความสูง 100-1200 เมตร เปลือกและใบแก้ปวดหัว แก้ไข้ หลอดลม  สีเหลืองอ่อน ตามลักษณะสีของเนื้อไม้
                    และปอดอักเสบ
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                    ตีนเป็ดแคระ                                            Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 64-65.
                    Alstonia curtisii King & Gamble
                       ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ใบเรียงเป็นวงรอบ 3-4 ใบ ชิดกัน รูปรีถึงรูปใบหอกกลับ
                    ยาว 5-12 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่ม เส้นใบจ�านวนมาก มีต่อมตามซอกเส้นใบ
                    ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกเรียงเป็นวง ยาว 4.5-6 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ
                    2 มม. กลีบดอกเรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก หลอดกลีบยาวประมาณ 2.5 ซม.
                    มีขนด้านในและรอบเกสรเพศผู้ กลีบรูปรี ยาว 1-1.5 ซม. เกสรเพศผู้ติดประมาณ
                    กึ่งกลางหลอดกลีบ จานฐานดอกเป็นต่อมแยกกัน คาร์เพลเกลี้ยง เกสรเพศเมีย
                    ยาวประมาณ 1 ซม. ผลออกเป็นฝักคู่ รูปแถบ ยาวได้ถึง 9 ซม. เมล็ดรูปขอบขนาน
                    ยาวประมาณ 1 ซม. รอยบุ๋มทั่วไป ขนครุยยาวประมาณ 2.5 มม.
                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่สุราษฎร์ธานี พังงา ภูเก็ต กระบี่ ขึ้นตาม
                    เกาะหรือเขาหินปูนเตี้ย ๆ ความสูงไม่เกิน 100 เมตร

                      เอกสารอ้างอิง
                       Li, B., A.J.M. Leeuwenberg and D.J. Middleton. (1995). Apocynaceae. In Flora   ตีนเป็ดชายฝั่ง: ใบเรียงเป็นวงรอบหรือเรียงตรงข้าม รูปใบพาย ช่อดอกแบบช่อกระจุกซ้อน กลีบดอกรูปขอบขนาน
                          of China Vol. 16: 154-156.                    ผลออกเป็นคู่ ผนังผลชั้นกลางเป็นเส้นใยหนา (ภาพดอก: cultivated - RP; ภาพผล: เกาะสุรินทร์ พังงา - SSi)
                       Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 41-48.
                                                                        ตีนเป็ดดอย
                                                                        Alstonia rupestris Kerr
                                                                        วงศ์ Apocynaceae
                                                                           ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. กิ่งมีช่องอากาศหนาแน่น เกลี้ยง ใบเรียงเป็นวงรอบ
                                                                        3-5 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 2.5-13 ซม. ปลายแหลมยาว โคนสอบเรียว
                                                                        จรดก้านใบ ไร้ก้าน เส้นแขนงใบจ�านวนมาก มีต่อมตามซอกเส้นใบ ช่อดอกแบบ
                                                                        ช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ยาว 2-5 ซม. ก้านดอกยาว 3-4 มม. กลีบเลี้ยง
                                                                        รูปไข่ ยาวประมาณ 2 มม. มีขนครุย กลีบดอกเรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก
                                                                        หลอดกลีบยาว 7-8 มม. กลีบรูปขอบขนาน ปลายกลม ยาว 2.5-3 มม. ด้านในมีขน
                      ตีนเป็ด: หูใบคล้ายเป็นติ่งที่ซอกก้านใบ ใบเรียงเป็นวง โคนรูปลิ่มหรือเป็นครีบ ช่อดอกแน่นเป็นกระจุก
                    (ภาพ: cultivated - RP)                              เกสรเพศผู้ติดใกล้ปากหลอดกลีบดอก จานฐานดอกจัก 2 พู คาร์เพลเกลี้ยง

                                                                                                                    177






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   177                                                                 3/1/16   5:31 PM
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202