Page 202 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 202
เต่าร้าง
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ช่อดอกออกจากยอดสู่โคนต้น แยกแขนง ใบประดับ 6-8 ใบ ดอกออกเป็นกระจุก
3 ดอก มีดอกเพศเมียออกตรงกลาง ดอกเพศผู้ด้านข้าง 2 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
จ�านวนอย่างละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก รังไข่มี 3 ช่อง ก้านเกสรเพศเมีย
ไร้ก้าน ผลกลม มี 1-2 เมล็ด เปลือกนอกเรียบ ผนังชั้นกลางสดมีเกล็ดแหลม
(raphide) ที่มีสารท�าให้ผิวหนังแสบคัน ผนังชั้นในแข็ง
สกุล Caryota อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae เผ่า Caryoteae มี 13 ชนิด
พบที่อินเดีย จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 4 ชนิด เต่าร้าง: ช่อดอกแยกแขนง ผลสุกสีม่วงด�า (ภาพผลอ่อน: ศรีพังงา พังงา, ภาพผลแก่: cultivated; - RP)
เป็นพืชถิ่นเดียว 1 ชนิด คือ C. kiriwongensis Hodel ex Hodel พบที่เขาหลวง
จังหวัดนครศรีธรรมราช คล้ายเต่าร้างยักษ์ภูคา แต่ช่อดอกสั้นกว่า และเนื้อในเมล็ด
ไม่เป็นชั้น ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “karyotos” อินทผาลัม หมายถึงปาล์มที่มี
ผลคล้ายอินทผาลัม
เต่าร้าง
Caryota mitis Lour.
ปาล์มแตกกอ สูงได้ถึง 10 ม. ล�าต้นเส้นผ่านศูนย์กลางโตได้ถึง 20 ซม. ก้านใบ
ยาว 0.8-2 ม. แกนกลางใบประกอบยาว 2-2.8 ม. ใบประกอบย่อยข้างละ 10-23 ใบ เต่าร้างยักษ์: ปาล์มล�าต้นเดี่ยว ใบประกอบย่อยและช่อดอกห้อยลง (ภาพซ้าย: เชียงใหม่, ภาพขวา: น่าน; - RP)
ใบประกอบย่อยชั้นที่สองข้างละ 10-20 ใบ ใบย่อยรูปสามเหลี่ยมเรียวแหลม
ปลายจัก ยาว 20-30 ซม. บางครั้งแฉกลึกจรดโคน 2-3 แฉก คล้ายหางปลา ช่อดอก
โค้งลง ยาวได้ถึง 85 ซม. แกนช่อยาว 20-65 ซม. ช่อย่อยจ�านวนมาก ดอกเพศผู้
กลีบดอกยาว 1.2-1.5 ซม. ดอกเพศเมียกลีบดอกยาว 4-5 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง
1-2 ซม. สุกสีม่วงด�า ส่วนมากมีเมล็ดเดียว เนื้อในเมล็ดเป็นชั้น
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทย
พบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น หรือป่าเสื่อมโทรม และเป็นไม้ประดับ
เปลือกผลท�าให้ระคายเคือง เส้นใยกาบประคบแผลสดห้ามเลือด
เต่าร้างยักษ์
Caryota maxima Blume
ปาล์มล�าต้นเดี่ยว สูงได้ถึง 30 ม. ล�าต้นเส้นผ่านศูนย์กลาง 25-45 ซม. ก้านใบ
ยาว 10-50 ซม. แกนกลางใบประกอบยาว 2.5-5 ม. ใบประกอบย่อยข้างละ
15-27 ใบ ห้อยลง ใบประกอบย่อยชั้นที่สองข้างละ 15-30 ใบ ใบย่อยเรียว ยาวได้ถึง เต่าร้างยักษ์ภูคา: ปาล์มล�าต้นเดี่ยวขนาดใหญ่ ป่องช่วงกลาง ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น แผ่กว้างคล้ายหางปลา
35 ซม. ขอบจักลึก ช่อดอกมี 3-5 ช่อ ห้อยลง ก้านช่อยาว 1-1.5 ม. แกนกลาง ช่อดอกห้อยลง (ภาพ: ดอยภูคา น่าน - RP)
ยาว 1.5-3 ม. ช่อย่อยจ�านวนมาก แกนกลางยาว 1-2 ม. ดอกเพศผู้กลีบดอกยาว
1.2-1.5 มม. ดอกเพศเมียกลีบดอกยาว 6-8 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. เต่าร้างศรีสยาม
สุกสีส้มอมแดง ส่วนมากมีเมล็ดเดียว เนื้อในเมล็ดเป็นชั้น Arenga hookeriana (Becc.) Whitmore
พบที่อินเดีย ภูฏาน พม่า จีนตอนใต้ ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู ชวา ชื่อพ้อง Didymosperma hookerianum Becc.
และสุมาตรา ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และ ปาล์มขนาดเล็กแตกกอ สูงได้ถึง 1.8 ม. ล�าต้นเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.6-2 ซม.
ป่าดิบชื้น มักพบตามพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ความสูงถึงประมาณ 1800 เมตร ใบมี 5-10 ใบ เรียงเวียน ส่วนมากเป็นใบเดี่ยว บางครั้งมีใบย่อยขนาดเล็กแซม รูปรี
ถึงรูปขอบขนาน ยาว 60-80 ซม. ขอบจักเป็นแฉกแหลม ข้างละ 6-8 แฉก แผ่นใบ
เต่าร้างยักษ์ภูคา ด้านล่างมีนวลสีเงินอมเทา ก้านใบยาวได้ถึง 50 ซม. กาบใบแฉกลึก ขอบมีเส้นใย
Caryota obtusa Griff. หนาแน่น ช่อดอกแบบช่อเชิงลด มี 2-3 ช่อ ออกตามซอกใบใกล้โคน ยาว
ชื่อพ้อง Caryota gigas Hahn ex Hodel 25-30 ซม. ช่อช่วงปลายส่วนมากเป็นช่อดอกเพศเมีย ช่อดอกเพศผู้บางครั้งแตกแขนง
ปาล์มล�าต้นเดี่ยวขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 40 ม. โคนต้นมีรากพิเศษหนาแน่น ผลรูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. ผลแก่สีส้มอมแดง เปลี่ยนเป็นสีด�า
ล�าต้นเส้นผ่านศูนย์กลาง 50-90 ซม. ช่วงกลางป่อง ก้านใบยาว 0.5-2 ม. แกนกลาง พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทย ขึ้นใต้ร่มเงาในป่าดิบชื้น ความสูง
ใบประกอบยาว 4-6 ม. ใบแผ่กว้างคล้ายหางปลา ใบประกอบย่อยข้างละ 18-24 ใบ 100-600 เมตร เป็นไม้ประดับ
ใบประกอบย่อยชั้นที่สองข้างละ 20-27 ใบ ใบย่อยปลายจักแหลม ยาว 20-35 ซม.
ช่อดอกห้อยลง ก้านช่อยาว 0.5-1 ม. แกนกลางยาว 2.5-4 ม. ช่อย่อยจ�านวนมาก เต่าร้างหนู, สกุล
ยาว 1.2-3 ม. ดอกเพศผู้กลีบดอกยาวประมาณ 1.5 ซม. ดอกเพศเมียกลีบดอก
ยาวประมาณ 8 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 ซม. สุกสีแดง ส่วนมากมี 2 เมล็ด Arenga Labill. ex DC.
เนื้อในเมล็ดเป็นชั้น วงศ์ Arecaceae
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ลาว เวียดนาม ในไทยพบที่ดอยภูคา จังหวัดน่าน ปาล์มล�าต้นเดี่ยวหรือแตกกอ แยกเพศร่วมต้น ช่อดอกเพศผู้และเพศเมีย
ขึ้นเป็นกลุ่มใหญ่ และพบกระจายห่าง ๆ ที่เชียงราย พะเยา และอุตรดิตถ์ ขึ้นตาม ออกไม่พร้อมกัน หลังจากออกดอกติดผลแล้วตายหรือไม่ตาย ใบประกอบแบบ
ที่สูงชันในป่าดิบเขา ความสูง 1200-1600 เมตร ขนนก ใบย่อยเรียงระนาบเดียวหรือต่างทิศทาง กาบเป็นเส้นใยร่างแห ช่อดอก
ออกจากยอดสู่โคนต้นในชนิดที่ออกดอกแล้วไม่ตาย ออกที่โคนในชนิดที่ออกดอก
เอกสารอ้างอิง แล้วตาย แยกแขนง มักห้อยลง ใบประดับจ�านวนมาก กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
Pei, S., S. Chen, G. Lixiu, J. Dransfield and A. Henderson. (2010). Arecaceae.
In Flora of China Vol. 23: 150-151. จ�านวนอย่างละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก รังไข่มี 2-3 ช่อง ไร้ก้านเกสรเพศเมีย
Barfod, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol. ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ผลกลมหรือรูปรีกว้าง มี 1-3 เมล็ด เปลือกนอกเรียบ
11(3): 387-391. ผนังชั้นกลางสด มีสารท�าให้ผิวหนังแสบคัน ผนังชั้นในคล้ายผนังชั้นกลาง
182
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 182 3/1/16 5:32 PM