Page 201 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 201
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้ที่ สารานุกรมพืชในประเทศไทย เต่าร้าง
กระบี่ พังงา นครศรีธรรมราช ปัตตานี และนราธิวาส ขึ้นพาดเลื้อยตามต้นไม้ริม
ล�าธารในป่าดิบชื้น ป่าพรุ หรือป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
สกุล Freycinetia Gaudich. มีประมาณ 180 ชนิด ในไทยมี 5 ชนิด และพบเป็น
ไม้ประดับ 1 ชนิด คือ หวายฟิลิปปินส์ F. cumingiana Gaudich. ซึ่งบางครั้ง
เข้าใจผิดว่าเป็น F. multiflora Merr. มีถิ่นกำาเนิดในฟิลิปปินส์ ชื่อสกุลตั้งตาม
นักสำารวจชาวฝรั่งเศส Louis-Claude de Saulces de Freycinet (1779-1842)
เอกสารอ้างอิง
Stone, C.B. (1970). Materials for a monograph of Freycinetia Gaud. (Pandanaceae)
V. Singapore, Malaya and Thailand. Gardens’ Bulletin Singapore 25: 195-197.
เตยทะเล: ล�าต้นกิ่งมักแตกแขนง ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง ขอบใบจักเป็นหนาม โคนใบหนาเป็นร่อง ไร้ก้าน
ผลกลุ่มย่อยรูปไข่กลับเป็นเหลี่ยม แก่แล้วแยก ผลย่อยผนังชั้นนอกสด สุกสีแดงอมส้ม (ภาพ: บางเบิด ชุมพร - RP)
เต้ามด
Debregeasia wallichiana (Wedd.) Wedd.
วงศ์ Urticaceae
ชื่อพ้อง Missiessya wallichiana Wedd.
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 6 ม. แยกเพศร่วมต้น กิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน หูใบรูปใบหอก
ยาว 1-2 ซม. ปลายแยกเป็นแฉก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปไข่กว้าง
หรือกลม ยาว 5-21 ซม. ขอบใบจักซี่ฟัน เส้นโคนใบ 3 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ
5-8 เส้น แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่มสีขาว ก้านใบยาว 3-18 ซม. ช่อดอกแบบ
ช่อกระจุกแน่นแยกสองแฉก 3-7 ครั้ง ออกตามกิ่ง ยาว 3.5-8 ซม. ช่อกระจุก
เตยชะงด: ก้านใบสั้นโอบรอบล�าต้น ขอบจักฟันเลื่อย ช่อดอกเพศเมียแบบช่อเชิงลดมีกาบ เรียงแบบช่อซี่ร่ม กาบมี
3 วง สีส้มหรืออมเหลือง ปลายจักฟันเลื่อย ไม่มีวงกลีบรวม (ภาพซ้าย: เขาพนมเบญจา กระบี่ - RP); หวายฟิลิปปินส์: เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. ใบประดับเรียวยาวขนาดเล็ก มีขนสั้นนุ่ม กลีบรวม
กาบเรียงซ้อนเหลื่อมไม่บานออก (ภาพขวา: cultivated - RP) 5 กลีบ ขนาดเล็ก รูปไข่กว้าง เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง ดอกเพศผู้ก้านดอกสั้น
เตยทะเล รังไข่เป็นหมัน ดอกเพศเมียรูปไข่ ไร้ก้าน หุ้มรังไข่ ปลายคอดแยกเป็น 4 กลีบตื้น ๆ
บาง ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรคล้ายแปรง ผลคล้ายผลสดผนังชั้นในแข็ง
Pandanus odorifer (Forssk.) Kuntze ยาวประมาณ 1.5 มม. มีกลีบบางหุ้ม
วงศ์ Pandanaceae พบที่อินเดีย ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ บังกลาเทศ พม่า และกัมพูชา
ชื่อพ้อง Keura odorifera Forssk., Pandanus odoratissimus L. f. ในไทยพบมากทางภาคเหนือ และยังพบที่เลย นครนายก (เขาใหญ่) และกาญจนบุรี
ไม้พุ่มหรือต้น อาจสูงได้ถึง 10 ม. ล�าต้นเส้นผ่านศูนย์กลางโตได้ถึง 20 ซม. ขึ้นตามที่โล่งในป่าดิบเขาหรือเขาหินปูน ความสูง 800-1800 เมตร
แยกเพศต่างต้น กิ่งมักแตกแขนง มีรากค�้ายัน ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง
รูปแถบ ส่วนมากยาวได้เกิน 1 ม. แผ่นใบหนา สันใบด้านล่างและขอบใบจักเป็นหนาม สกุล Debregeasia Gaudich. มีประมาณ 6 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเอเชียตะวันออก
เรียงห่าง ๆ หนามยาว 0.5-1 ซม. โคนใบหนาเป็นร่อง ไร้ก้าน ช่อดอกคล้าย ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักสำารวจทางทะเลชาวฝรั่งเศส Prosper Justin
ช่อเชิงลดมีกาบ ไม่มีวงกลีบรวม ช่อดอกเพศผู้แยกแขนง ยาว 30-60 ซม. เกสรเพศผู้ de Bregeas ที่สำารวจประเทศในแถบเอเชียตะวันออก ช่วงปี ค.ศ. 1836-1837
จ�านวนมาก ช่อดอกเพศเมียคล้ายช่อกระจุกแน่น ก้านช่อยาวได้ถึง 30 ซม. คาร์เพล เอกสารอ้างอิง
จ�านวนมาก แยกเป็นกลุ่มย่อย (phalanges) กลุ่มละ 4-11 อัน แต่ละคาร์เพล Chen, J., I. Friis and C.M. Wilmot-Dear. (2003). Urticaceae (Debregeasia). In
มีออวุลเม็ดเดียว ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ไร้ก้าน ผลกลุ่มรูปรี ยาวได้ถึง 30 ซม. Flora of China Vol. 5: 185-186.
เส้นผ่านศูนย์กลางโตได้ถึง 20 ซม. แต่ละกลุ่มย่อยรูปไข่กลับเป็นเหลี่ยม แก่แล้วแยก
ยาว 3-8 ซม. โคนที่เชื่อมติดกันเป็นเส้นใย ผลย่อยผนังชั้นในแข็ง ผนังชั้นนอกสด
สุกสีแดงอมส้ม มีเส้นใย ยอดเกสรเพศเมียติดทน
พบในเอเชียตามหมู่เกาะและชายฝั่งทะเล และเกาะฮาวาย ในไทยพบทาง
ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ คล้ายกับการะเกด P. tectorius Parkinson ex
Du Roi ซึ่งในไทยเข้าใจว่าพบเฉพาะที่เป็นไม้ประดับ รวมทั้งต้นที่ใบด่าง ลักษณะ
ที่แตกต่างกันคือ เตยทะเลขอบใบมีหนามสีขาวขนาดใหญ่ กลุ่มผลย่อยขอบมีสันนูน
ในผลสุก ทั้งสองชนิดดอกมีกลิ่นหอม ใบและดอกมีสรรพคุณช่วยย่อย
สกุล Pandanus Parkinson มีประมาณ 650 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย และ เต้ามด: ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง ขอบใบจักซี่ฟัน แผ่นใบด้านล่างมีขนสีขาว ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น
ออสเตรเลีย ในไทยมีประมาณ 20 ชนิด และเป็นไม้ประดับ 2-3 ชนิด ชื่อสกุล แยกสองแฉก ออกตามกิ่ง (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - RP)
มาจากภาษามาเลย์ “pandan หรือ pandang” ที่ใช้เรียกพวกเตย
เต่าร้าง, สกุล
เอกสารอ้างอิง Caryota L.
St. John, H. (1979). Revision of the genus Pandanus Stickman. Part 42. Pandanus
tectorius Parkins. ex Z and Pandanus odoratissimus L..f. Pacific Science 33(4): วงศ์ Arecaceae
395-401.
Stone, B.C. (1983). Pandanaceae (Pandanus odoratissimus). Flore du Cambodge, ปาล์มล�าต้นเดี่ยวหรือแตกกอ แยกเพศร่วมต้น มักตายหลังจากออกดอกติดผล
du Laos et du Vietnam. 20: 23-29. ล�าต้นมีรอยวงก้านใบชัดเจน ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ออกตามล�าต้นและยอด
Sun, K. and R.A. DeFilipps. (2010). Pandanaceae. In Flora of China Vol. 23: 128. กาบเป็นเส้นใยร่างแหโอบหุ้มล�าต้นตรงข้ามก้านใบ ใบย่อยส่วนมากรูปสามเหลี่ยม
181
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 181 3/1/16 5:32 PM