Page 196 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 196

ตีนตุ๊กแก


                ตีนตุ๊กแก           สารานุกรมพืชในประเทศไทย          ก้านใบย่อยสั้น ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 20 ซม. ก้านช่อยาว 2-7 ซม.
                Ficus pumila L.                                      ดอกหนาแน่น ไร้ก้านหรือมีก้านสั้นมาก หลอดกลีบเลี้ยงยาว 4-6 มม. ปลายจักตื้น ๆ
                วงศ์ Moraceae                                        ดอกสีม่วงอ่อน หลอดกลีบดอกยาว 2-3 มม. กลีบปากบนแฉกกลม ขนาด 1-1.5 มม.
                                                                     กลีบปากล่างยาว 3-3.5 มม. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1.5 ซม. อันสั้นยาวประมาณ
                   ไม้เลื้อย มีรากตามข้อ ล�าต้นมีขนสีน�้าตาลหนาแน่น ใบเรียงสลับระนาบเดียว   1 ซม. โคนก้านมีขน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.5 ซม. สุกสีด�า
                มีสองขนาด รูปไข่ถึงรูปรี หรือรูปกลมถึงรูปหัวใจ ยาว 1-6 ซม. โคนกลมหรือเว้าตื้น   พบที่อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
                แผ่นใบค่อนข้างหนา ด้านบนมีขนตามเส้นแขนงใบ ด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม เส้นแขนงใบ  ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าผลัดใบและไม่ผลัดใบ ความสูงถึงประมาณ
                ข้างละ 4-6 เส้น มีต่อมไขตามซอกเส้นแขนงใบด้านล่าง ใบขนาดใหญ่ก้านใบยาว  400 เมตร เปลือกและใบมีสรรพคุณต้านเชื้อแบคทีเรีย แก้ไข้ แก้ปวดท้อง
                ได้ถึง 2.5 ซม. ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง ใบประดับที่โคนยาว 4-7 มม. ดอกอยู่ภายใน
                ฐานดอกที่ขยายออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบหรือใต้ใบ อันที่เป็นหมันเป็นปมรูปกลม ๆ   ตีนนกเขา
                อันที่สมบูรณ์รูปลูกแพร์ถึงรูปไข่กลับ ยาว 3-7 ซม. มีขนสั้นนุ่มกระจาย สุกสีด�า
                รูเปิดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. มีขนหนาแน่น ก้านผลยาว 0.4-2 ซม.   Vitex vestita Wall. ex Walp.
                (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ไทร, สกุล)                       ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 8 ม. มีขนสั้นนุ่มหนาแน่นตามกิ่งอ่อน ช่อดอก และใบประดับ
                   มีถิ่นก�าเนิดในจีน เกาหลี ญี่ปุ่น ไต้หวัน และเวียดนาม เป็นไม้ประดับเกาะเลื้อย   ใบประกอบมี 3-5 ใบย่อย ก้านใบยาว 1-6 ซม. ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-15 ซม.
                หรือแพร่กระจายในธรรมชาติ ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร มีสรรพคุณด้านสมุนไพร  ปลายแหลมยาว แผ่นใบมีขนและต่อมประปรายทั้งสองด้าน ก้านใบสั้น ใบปลาย
                หลายอย่าง เนื้อผลคั้นท�าเจลลี่ปรุงอาหารได้           ก้านยาวได้ถึง 1.5 ซม. ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ ยาว 2.5-7 ซม. แตก 2-3 แขนง
                                                                     ก้านดอกยาว 1-2 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 3 มม. ปลายจักตื้น ๆ หรือเรียบ
                  เอกสารอ้างอิง                                      ด้านนอกมีขนและต่อมหนาแน่น ดอกสีขาวอมเหลืองหรือชมพู หลอดกลีบดอก
                   Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae in   ยาว 4-7 มม. ด้านนอกมีต่อมกระจาย กลีบปากบนแฉกรูปสามเหลี่ยมกว้าง ยาว
                      Flora of Thailand Vol. 10(4): 587-588.
                    Wee, Y.C. and H. Keng. (1990). An illustrated dictionary of Chinese medicinal   1-1.5 มม. กลีบปากล่างยาว 3-3.5 มม. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 4 มม. อันสั้นยาว
                      herbs. Times Edition Pte Ltd., Time Centre, Singapore.  2-3 มม. ที่จุดติดบนหลอดกลีบมีขน ปลายรังไข่มีต่อมหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมีย
                                                                     ยาว 2.5-3 มม. ผลรูปไข่ ยาว 5-9 มม. สุกสีม่วงด�า
                                                                       พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม และภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค
                                                                     ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ชายป่าดิบชื้น หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึง
                                                                     ประมาณ 1500 เมตร
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Chantaranothai, P. (2011). A revision of the genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand.
                                                                          Tropical Natural History 11(2): 91-118.
                                                                       Chen, S.L. and M.G. Gilbert. (1994). Verbenaceae. In Flora of China Vol. 17: 28, 31.








                  ตีนตุ๊กแก: ไม้เลื้อยเกาะตามก�าแพง ใบมีสองขนาด ดอกจ�านวนมากอยู่ภายในฐานดอกที่ขยาย (fig) รูปลูกแพร์
                มีใบประดับที่โคน รูเปิดมีขนหนาแน่น (ภาพ: cultivated - RP)
                ตีนนก, สกุล
                Vitex L.
                วงศ์ Lamiaceae
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น กิ่งอ่อนมักเป็นเหลี่ยม ใบประกอบเรียงตรงข้าม รูปฝ่ามือ
                มีใบย่อย 1-8 ใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกซ้อน แยกแขนง ใบประดับขนาดเล็ก
                                                                      ตีนนก: ใบประกอบมี 3-5 ใบย่อย ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงขยายในผล ผลสุกสีด�า (ภาพ: ขนอม
                ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงรูประฆัง หรือเป็นหลอด ปลายจัก 5 แฉก รูปปากเปิด หรือเรียบ   นครศรีธรรมราช - RP)
                ขยายในผล กลีบดอกรูปปากเปิด หลอดกลีบสั้น กลีบล่าง 3 กลีบ กลีบกลาง
                ยาวกว่ากลีบคู่ข้าง กลีบบน 2 กลีบ เกสรเพศผู้ 2 คู่ ไม่เท่ากัน ติดประมาณกึ่งกลาง
                หลอดกลีบ อับเรณูกางออก ส่วนมากยื่นพ้นปากหลอด รังไข่มี 2-4 ช่อง แต่ละช่อง
                มีออวุล 1-2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรจัก 2 พู ผลผนังชั้นในแข็ง
                ส่วนมากมี 4 ไพรีน
                   สกุล Vitex เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Verbenaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Viticoideae มี
                   ประมาณ 250 ชนิด ส่วนมากพบในเขตร้อน ในไทยมี 16 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษา
                   ละตินที่ใช้เรียก V. agnus-castus L.

                ตีนนก
                Vitex pinnata L.
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนประปรายตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยงและ
                กลีบดอกด้านนอก ใบประกอบมี 3-5 ใบย่อย ก้านใบยาว 3-10 ซม. ก้านใบอ่อน  ตีนนกเขา: ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ แตก 2-3 แขนง หลอดกลีบเลี้ยงปลายจักตื้น ๆ หรือเรียบ ขยายในผล
                มีปีก ใบย่อยรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 8-15 ซม. ปลายแหลมยาว   ด้านนอกมีขนและต่อมหนาแน่น ดอกสีขาวอมเหลืองหรือชมพู หลอดกลีบดอกยาว (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - PK)


                176






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   176                                                                 3/1/16   5:31 PM
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201