Page 199 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 199

ตีนมือนกเขา
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    ตีนเป็ดฝรั่ง                                        เกสรเพศเมียยาว 5-6 มม. ผลออกเป็นฝักคู่ ยาว 10-24 ซม. เมล็ดยาวประมาณ 5 มม.
                    Crescentia alata Kunth                              ขนครุยยาวประมาณ 1 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตีนเป็ด, สกุล)
                    วงศ์ Bignoniaceae                                      พบที่ภูมิภาคมาเลเซีย เวียดนามตอนใต้ และภาคใต้ของไทย ขึ้นตามขอบป่าพรุ
                       ไม้ต้น แตกกิ่งต�่า สูงได้ถึง 10 ม. ใบประกอบมี 3 ใบย่อย มักออกตามกิ่งหรือล�าต้น   ความสูงระดับต�่า ๆ น�้ายางขาวใช้ทาแก้โรคผิวหนัง แก้ปวดฟัน น�้าสกัดจากเปลือก
                                                                        มีสรรพคุณลดน�้าตาลในเลือด
                    ก้านเป็นปีก ยาว 2.5-5 ซม. ใบย่อยรูปใบพาย ใบปลายยาวได้ถึง 10 ซม. ใบข้างสั้นกว่า
                    เล็กน้อย ปลายเว้าตื้น ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ตามล�าต้นและกิ่ง ก้านดอกยาว   เอกสารอ้างอิง
                    5-8 มม. กลีบเลี้ยงแยก 2 แฉกเกือบจรดโคน ยาวประมาณ 1.5 ซม. ดอกรูปแตร  Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 46-48.
                    ป่องกลาง สีเขียวอมม่วงและน�้าตาลแดง หลอดกลีบยาว 4-6 ซม. ด้านนอกมีต่อม
                    กระจาย กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมกว้าง แฉกลึกประมาณ
                    1.5 ซม. ขอบจักชายครุย เกสรเพศผู้ 2 คู่ ยาวไม่เท่ากัน ติดเหนือโคนหลอดกลีบดอก
                    ยาว 3-4 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันติดระหว่างเกสรเพศผู้อันยาว ยาว 5-7 มม.
                    อับเรณูกางออก จานฐานดอกเป็นวง รังไข่มี 2 ช่อง เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว
                    ประมาณ 6.5 ซม. ยอดเกสรจัก 2 พู ยาวประมาณ 4 มม. ผลรูปรี เส้นผ่านศูนย์กลาง
                    7-10 ซม. เปลือกแข็ง เนื้อเป็นปุยสีขาว เมล็ดขนาดเล็ก แบน คล้ายรูปหัวใจ
                       มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกากลางแถบประเทศเม็กซิโกจนถึงคอสตาริกา เป็นไม้ประดับ
                    ทั่วไปในเขตร้อน ดอกบานเต็มที่ตอนกลางคืน มีกลิ่นแรง

                       สกุล Crescentia L. มีประมาณ 6 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน และแถบทะเล
                       แคริบเบียน ในไทยเป็นไม้ประดับ 2 ชนิด อีกชนิดคือ น้ำาเต้าต้น C. cujete L.
                       ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเป็นกระจุก ทั้ง 2 ชนิด เปลือก ใบ และผล แก้ท้องเสีย แก้ไข้
                       เปลือกผลแข็งสามารถใช้ทำาภาชนะ เนื้อปุยและเมล็ดกินได้ แต่ของน้ำาเต้าต้นมีพิษ
                       ชื่อสกุลตั้งตามพระชาวอิตาลี Pietro Crescenti (1230-1321)  ตีนเป็ดพรุ: ใบเรียงเป็นวงรอบ รูปช้อน ช่อดอกแบบช่อกระจุกเรียงเป็นวงแยกแขนง ผลเป็นฝักคู่ เมล็ดมีขนครุย
                                                                        (ภาพดอก: cultivated - RP; ภาพฝัก: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส, ภาพฝักสด - RP, ภาพฝักแห้ง - NP)
                      เอกสารอ้างอิง
                       Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 62.  ตีนมือนกเขา
                                                                        Ophioglossum pendulum L.
                                                                        วงศ์ Ophioglossaceae
                                                                           เฟินอิงอาศัย เหง้าทอดนอน ยาวได้ถึง 3 ซม. ก้านใบ (phyllomophore) คล้าย
                                                                        แผ่นใบ (trophophyll) ยาวได้ถึง 20 ซม. ใบรูปแถบ คล้ายริบบิ้น ยาว 50-100 ซม.
                                                                        รวมก้าน กว้าง 2-4 ซม. บางครั้งแตกแขนงเป็นคู่หรือหลายคู่ ปลายแหลมหรือมน
                                                                        ขอบมักเป็นคลื่น แผ่นใบอวบหนา ใบแห้งบาง เส้นใบแบบร่างแห กลุ่มอับสปอร์
                                                                        ออกประมาณกึ่งกลางใบ ส่วนมากออกเดี่ยว ๆ มีก้านยาวได้ถึง 7 ซม. แกนช่อยาว
                                                                        ได้ถึง 30 ซม. กลุ่มสปอร์รูปสามเหลี่ยมมน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม.
                                                                        ผิวเป็นร่างแหละเอียด

                                                                           พบที่แอฟริกาและเอเชียเขตร้อน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ แทบทุกภาค โดยเฉพาะ
                                                                        ภาคใต้ ขึ้นบนคาคบไม้ในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น มักพบขึ้นกับเฟินสกุล Platycerium

                                                                           สกุล Ophioglossum L. มีประมาณ 28 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทย
                      ตีนเป็ดฝรั่ง: ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ใบและดอกออกตามล�าต้นและกิ่ง ดอกบานตอนกลางคืน ปลายกลีบจักชายครุย   มี 4 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “ophis” งู และ “glossa” ลิ้น ตามลักษณะใบ
                    เกสรเพศผู้ 2 คู่ ยาวไม่เท่ากัน ยอดเกสรเพศเมียจัก 2 พู ผลรูปรี (ภาพ: cultivated - RP)
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                                                                              Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                                                                           Liu, Q. and N. Sahashi. (2013). Ophioglossaceae. In Flora of China Vol. 21-23:
                                                                              77-78.
                                                                           Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1979). Ophioglossaceae. In Flora of Thailand
                                                                              Vol. 3(1): 37.

                      น�้าเต้าต้น: ใบเดี่ยวออกเป็นกระจุก ดอกรูปแตรป่องกลาง ด้านนอกมีต่อมกระจาย (ภาพ: cultivated - RP)
                    ตีนเป็ดพรุ
                    Alstonia spatulata Blume
                    วงศ์ Apocynaceae
                       ไม้ต้น สูง 5-10 ม. โคนมักเป็นร่องหรือมีพูพอน ใบเรียงเป็นวงรอบ 3-5 ใบ
                    รูปช้อน ยาว 2.5-11 ซม. ปลายมนหรือกลม โคนเรียวเป็นครีบ เส้นใบจ�านวนมาก
                    มีต่อมตามซอกเส้นใบ ก้านใบยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกเรียง
                    เป็นวงแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ยาว 6-9 ซม. ก้านดอกยาว 0.3-1 ซม. กลีบเลี้ยง
                    รูปไข่ ยาวประมาณ 2 มม. มีขนครุย กลีบดอกเรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก หลอด
                    กลีบดอกยาว 6-9 มม. ด้านในมีขนหนาแน่น กลีบรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 9 มม.
                    เกสรเพศผู้ติดเหนือกึ่งกลางหลอดกลีบดอก จานฐานดอกขนาดเล็ก คาร์เพลเกลี้ยง   ตีนมือนกเขา: แผ่นใบรวมก้านรูปแถบ คล้ายริบบิ้น กลุ่มอับสปอร์แก่สีเหลือง (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)


                                                                                                                    179






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   179                                                                 3/1/16   5:32 PM
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204