Page 204 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 204
แตงโมป่า
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Ichnocarpus R. Br. มี 8 ชนิด พบในเอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 4 ชนิด แตงหนู, สกุล
2 ชนิด เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย คือ I. fulvus Kerr พบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ Mukia Arn.
และ I. uliginosus Kerr พบทางภาคเหนือ ต่างกันที่ขนาดของใบ กลีบดอก และ
จานฐานดอก ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “ichno” รอยเท้า และ “karpos” ผล วงศ์ Cucurbitaceae
ตามลักษณะผลที่กางออก ไม้เถาล้มลุก แยกเพศร่วมต้น มือจับไม่แยกแขนง ใบเรียงเวียน เรียบหรือ
จักเป็นพู ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุกตามข้อ ไม่มีใบประดับ ฐานดอกรูประฆัง
เอกสารอ้างอิง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดเหนือกลาง
Li, B., A.J.M. Leeuwenberg and D.J. Middleton. (1995). Apocynaceae. In Flora
of China Vol. 16: 185-186. หลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น จานฐานดอกแบนกลม ดอกเพศเมียออกเป็นกระจุก
Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 113-118. 1-6 ดอก คล้ายดอกเพศผู้ ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรแยกเป็น 3 พู หนา
ปลายแยก 2 แฉก จานฐานดอกเป็นวง ผลสดมีหลายเมล็ด เปลือกบาง เมล็ดแบน
สกุล Mukia มีประมาณ 9 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ในไทย
มี 3 ชนิด หลายชนิดบางครั้งถูกจัดให้อยู่ภายใต้สกุล Cucumis ชื่อสกุลมาจาก
ภาษามาลายาลัมในอินเดีย “mucca-piri” หมายถึง มือจับม้วนงอ
แตงหนู
เต่าไห้: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง หลอดกลีบดอกสั้นกว่ากลีบดอก ปากหลอดมีขนหนาแน่น Mukia gracilis (Kurz) W. J. de Wilde & Duyfjes
(ภาพ: นาแห้ว เลย - PK) ชื่อพ้อง Mukia maderaspatana (L.) M. Roem. var. gracilis Kurz
แตงโมป่า ไม้เถา มีขนแข็งยาว 1-5 มม. ตามล�าต้น ก้านใบ และแผ่นใบ ใบรูปไข่หรือแกม
Gymnopetalum scabrum (Lour.) W. J. de Wilde & Duyfjes รูปขอบขนาน บางครั้งคล้ายรูปเงี่ยงใบหอก ยาว 5-12 ซม. ขอบเรียบหรือจักซี่ฟัน
ห่าง ๆ ก้านยาว 3-7 ซม. ดอกเพศผู้มี 5-10 ดอก บางครั้งมีดอกเพศเมียด้วย ก้านดอก
วงศ์ Cucurbitaceae ยาว 2-6 มม. ฐานดอกยาว 2-2.5 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม. มีขนแข็ง
ชื่อพ้อง Trichosanthes scabra Lour. ดอกสีเหลือง กลีบแยกเกือบจรดโคน รูปรี ยาว 2-3 มม. อับเรณูยาวประมาณ 1 มม.
ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 5 ม. แยกเพศร่วมต้น มีขนหนาแน่นตามล�าต้น แผ่นใบ ดอกเพศเมียมี 1-5 ดอก หรือมีดอกเพศผู้ปน ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. รังไข่มีขน
ด้านล่าง ฐานดอก และผล มีรากตามข้อ มือจับแยก 2 แขนงใกล้โคน ใบประดับนอก ปลายเกสรเพศเมียมีขน ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 มม. มีขนกระจาย ก้านยาว
(probract) รูปใบหอก ยาว 1-2.5 ซม. ใบรูปไข่กว้างหรือเป็นเหลี่ยม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 มม. มีประมาณ 5 เมล็ด รูปไข่กลับ ยาว 5-6 มม. ผิวเป็นสัน มีรอยบุ๋มกระจาย
2-11 ซม. โคนรูปหัวใจ ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบรูปฝ่ามือ 5 เส้น พบที่พม่า ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และ
ก้านใบยาว 1-5 ซม. ช่อดอกเพศผู้ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจะ ใบประดับยาว ภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร
1-2 ซม. จักเป็นพู ก้านดอกยาวได้ถึง 12 ซม. หรือยาว 1-2 ซม. ในดอกที่ออกเป็นช่อ
ฐานดอกเรียว ยาว 1.5-3 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 4-8 มม. แตงหนู
ดอกสีขาว มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 2 ซม. ขอบจักชายครุย ปากหลอดกลีบ
สีเหลือง เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดใต้ปากหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูแยกกัน ยาว Mukia javanica (Miq.) C. Jeffrey
ประมาณ 2 มม. อับเรณูสีเหลือง จานฐานดอกจัก 3 พู รูปแถบ ดอกเพศเมีย ชื่อพ้อง Karivia javanica Miq.
ออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกยาว 1-3 ซม. ฐานดอกสั้น รังไข่มีขนยาว ก้านเกสรเพศเมีย ไม้เถา มีขนสากตามล�าต้น แผ่นใบ ก้านใบ และฐานดอก ใบรูปไข่กว้าง คล้ายรูป
ยาว 0.7-1 ซม. ยอดเกสรมี 3 พู ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 ซม. สุกสีส้ม สามเหลี่ยมหรือเกือบกลม เรียบหรือจักตื้น ๆ 3-5 พู กว้าง 2-10 ซม. โคนรูปหัวใจ
ก้านยาว 1-5 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก รูปขอบขนาน ยาว 6-9 มม. ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ดอกเพศผู้มี 3-6 ดอก ก้านดอกยาว 1-4 มม. ฐานดอกยาว
พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทย 1.5-3 มม. กลีบเลี้ยงยาว 1-1.5 มม. ดอกสีเหลือง กลีบรูปไข่ ยาว 1.5-2.5 มม.
พบทั่วทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งข้างถนน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ผลมีพิษ อับเรณูยาว 1.5-2 มม. ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ มี 1-4 ดอก ก้านดอกยาว
ประมาณ 1 มม. รังไข่กลม เกลี้ยงหรือมีขน ผลรูปรี ยาว 1-1.5 ซม. ก้านยาว 1-2 มม.
สกุล Gymnopetalum Arn. มี 4 ชนิด พบเฉพาะในเอเชีย ในไทยมี 2 ชนิด อีก มี 8-18 เมล็ด รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 5 มม. ขอบมีสัน ผิวมีตุ่ม
ชนิดคือ G. chinense (Lour.) Merr. แผ่นใบเกลี้ยง ผลรูปกระสวย มีสัน ชื่อสกุล พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทย
มาจากภาษากรีก “gymnos” เปลือย และ “petalon” กลีบดอก พบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร
เอกสารอ้างอิง
de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2008). Cucurbitaceae. In Flora of แตงหนู
Thailand Vol. 9(4): 442-447. Mukia maderaspatana (L.) M. Roem.
ชื่อพ้อง Cucumis maderaspatanus L.
ไม้เถา มีขนสากหรือขนยาวตามล�าต้น แผ่นใบ และก้านใบ ใบรูปไข่กว้างคล้าย
รูปสามเหลี่ยม หรือเกือบกลม เรียบหรือจักตื้น ๆ 3-5 พู กว้าง 2-10 ซม. โคนรูป
หัวใจ ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ดอกเพศผู้มี 2-20 ดอก บางครั้งมีดอกเพศเมียปน
ในช่อดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 2-7 มม. ฐานดอกยาว 1.5-4 มม. มีขน กลีบเลี้ยงยาว
1-1.5 มม. ดอกสีขาว กลีบรูปไข่ ยาว 1.5-4 มม. อับเรณูยาว 1-2 มม. ดอกเพศเมีย
คล้ายดอกเพศผู้ มี 1-8 ดอก ก้านดอกยาว 1-4 มม. รังไข่มีขนประปราย เกสรเพศเมีย
เกลี้ยง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1.5 ซม. ก้านผลยาว 2-5 มม. มี 10-20 เมล็ด
รูปไข่กลับ ยาว 3-4 มม. ผิวมีรอยบุ๋ม และตุ่มกระจาย
พบที่แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค โดยเฉพาะตามที่โล่ง
ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
เอกสารอ้างอิง
de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2008). Cucurbitaceae. In Flora of
แตงโมป่า: ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ฐานดอกสั้น กลีบจักชายครุยสั้น ๆ ผลสุกสีส้ม เมล็ดจ�านวนมาก
(ภาพดอกและผลอ่อน: ทุ่งกุลาร้องไห้ ยโสธร, ภาพผลสุก: บุรีรัมย์; - RP) Thailand Vol. 9(4): 471-475.
184
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 184 3/1/16 5:33 PM