Page 206 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 206

ถอบแถบ

                  ถอบแถบ             สารานุกรมพืชในประเทศไทย          ถั่วนก
                  Connarus cochinchinensis (Baill.) Pierre            Vigna adenantha (G. Mey.) Maréchal, Mascherpa & Stainier
                  วงศ์ Connaraceae                                      ชื่อพ้อง Phaseolus adenanthus G. Mey.
                   ชื่อพ้อง Tricholobus cochinchinensis Baill.          ไม้เถา หูใบยาว 3-3.5 มม. หูใบย่อยสั้นกว่าเล็กน้อย ติดทน ก้านใบประกอบ
                    ไม้เถาหรือไม้ต้นรอเลื้อย มีขนสั้นนุ่มตามช่อดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก   ยาว 3.5-12.5 ซม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 5.5-11 ซม. ปลายแหลม
                  ใบประกอบมี 5-7 ใบย่อย รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 3-13 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลม   มีติ่งหนาม ก้านใบย่อยยาว 3-4.5 มม. ช่อดอกยาว 9-22 ซม. ใบประดับยาว
                  เส้นแขนงใบข้างละ 5-7 เส้น ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง   3.5-4.5 มม. ใบประดับย่อยขนาดเล็กกว่าเล็กน้อย กลีบเลี้ยงสีเขียวปนน�้าตาลอ่อน
                  10 ซม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 3-4 มม. ดอกสีครีม มี 5 กลีบ   ดอกสีม่วงอมขาว กลีบกลางยาว 2-2.5 ซม. กลีบปีกรูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม.
                                                                      โคนรูปติ่งหู ก้านกลีบยาว 5-8 มม. กลีบคู่ล่างสีขาว รังไข่เกลี้ยง ฝักแบนรูปแถบ
                  รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 6-8 มม. มีต่อมกระจาย กลีบด้านในมีขนประปราย   ยาว 9-14 ซม. เกลี้ยง เมล็ดรูปไต สีน�้าตาลด�า ขนาดประมาณ 7 มม.
                  เกสรเพศผู้เชื่อมติดกันที่โคน อันยาว 5 อัน ติดตรงข้ามกลีบเลี้ยง อันสั้น 5 อัน
                  ติดตรงข้ามกลีบดอก เป็นหมัน ก้านชูอับเรณูมีขนและต่อมกระจาย มีคาร์เพลเดียว   พบกระจายทั่วไปในเขตร้อน ขึ้นเป็นวัชพืชตามชายป่า ที่โล่งใกล้แหล่งน�้า
                  มีขนยาว ออวุลมี 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรเบี้ยว ผลแตกแนวเดียว   ความสูงระดับต�่า ๆ
                  รูปรี เบี้ยว ยาว 2-3 ซม. ผิวด้านนอกเกลี้ยง ด้านในมีขนสั้นนุ่ม ส่วนมากมีเมล็ดเดียว
                  มีเยื่อหุ้มสีเหลืองอมส้ม จัก 2 พู ย่น               ถั่วแป๋
                    พบที่ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้น  Vigna umbellata (Thunb.) Ohwi & H. Ohashi
                  ภาคเหนือ ขึ้นตามชายป่า หรือชายทะเล ความสูงระดับต�่า ๆ  ชื่อพ้อง Dolichos umbellatus Thunb.
                                                                        ไม้เถา มีขนหนาแน่นตามล�าต้น หูใบ แผ่นใบ ช่อดอก และกลีบเลี้ยง หูใบแบบ
                    สกุล Connarus L. มีประมาณ 80 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกา แอฟริกา และ  ก้นปิด รูปแถบ ยาว 1-2 ซม. หูใบย่อยยาว 5-7 มม. ติดทน ก้านใบประกอบยาว
                    เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยมีประมาณ 6 ชนิด ต่างจากสกุลอื่น ๆ ที่มีคาร์เพล  4-19 ซม. ใบย่อยรูปไข่ รูปรี หรือเกือบกลม ยาว 5.2-12.7 ซม. ปลายมีติ่งแหลม
                    เดียว กลีบเลี้ยงไม่ขยายในผล คล้ายกับสกุลคำารอก Ellipanthus ที่ช่อดอกออก  ก้านใบย่อยยาว 2.5-5 มม. ช่อดอกยาว 10-15.5 ซม. ก้านช่อยาว 8-11.5 ซม.
                    ตามซอกใบ ดอกไม่มีต่อม และใบประกอบมีใบเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก   กลีบเลี้ยงสีเขียวหรืออมม่วง ปลายแยกเป็นแฉกยาว 3 แฉก สั้น 2 แฉก ดอกสีเหลือง
                    “konnaros” ต้นไม้ที่มีหนามชนิดหนึ่ง               กลีบกลางกว้าง 1.2-1.4 ซม. ยาวประมาณ 1 ซม. กลางกลีบเป็นสัน กลีบปีกยาว
                                                                      1-1.3 ซม. กลีบคู่ล่างยาว 1.5-1.8 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 1.5-1.7 ซม. รังไข่มีขน
                   เอกสารอ้างอิง                                      ประปราย ฝักรูปทรงกระบอก ยาว 4.2-8 ซม. ช่วงโคนคอดยาว 2-3 มม. เกลี้ยง
                    Vidal, J.E. (1972). Connaraceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 130.
                                                                      ก้านยาว 6-7 มม. มีขน เมล็ดสีน�้าตาลอมแดง รูปไต ยาว 0.4-1 ซม.
                                                                        พบที่จีน ญี่ปุ่น เกาหลี และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยพบแทบทุกภาค
                                                                      พบน้อยทางภาคใต้ ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร ปลูก
                                                                      เพื่อใช้ฝักและเมล็ดเป็นอาหาร

                                                                      ถั่วผี
                                                                      Vigna luteola (Jacq.) Benth.
                                                                        ชื่อพ้อง Dolichos luteolus Jacq.
                                                                        ไม้เถา เกลี้ยงหรือมีขนประปรายตามแผ่นใบ มีขนหนาแน่นตามก้านใบและ
                                                                      ช่อดอก หูใบยาว 2-3 มม. ร่วงเร็ว หูใบย่อยสั้นกว่า ติดทน ก้านใบประกอบยาว
                                                                      2.2-7 ซม. ใบย่อยรูปรี รูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปใบหอก ยาว 3.8-9.3 ซม. ปลายมี
                                                                      ติ่งหนาม แผ่นใบทั้งสองด้านมีขนสั้นนุ่มประปราย ก้านใบย่อยยาว 2-3 มม. ช่อดอก
                                                                      ยาว 9-30 ซม. ก้านช่อยาว 8-28 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ยาว 1-1.5 มม. ดอกสีเหลือง
                   ถอบแถบ: ใบประกอบปลายคี่ ช่อดอกและดอกมีขน กลีบดอกมีต่อม เกสรเพศผู้สั้น 5 อัน ยาว 5 อัน ผลแตกแนวเดียว   กลีบกลางกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 1.2-1.5 ซม. กลีบปีกยาว 1.2-1.4 ซม. กลีบคู่ล่าง
                  เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีเหลืองอมส้ม จัก 2 พู ย่น (ภาพ: อากาศอ�านวย สกลนคร - PK)  ยาว 1-1.3 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 1.1-1.5 ซม. รังไข่มีขน ฝักแบนรูปแถบ ยาว
                                                                      4.5-5.5 ซม. มีขน ช่วงโคนคอดประมาณ 2 มม. ก้านผลยาว 5-6 มม. เมล็ดสีเขียว
                  ถั่วเขียว, สกุล                                     มีจุดประสีน�้าตาลเข้ม เมล็ดแก่สีน�้าตาลอมด�า รูปไต ยาว 4-5 มม.
                  Vigna Savi                                            เป็นวัชพืชทั่วไปในอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย ความสูงระดับต�่า ๆ
                  วงศ์ Fabaceae
                                                                       เอกสารอ้างอิง
                    ไม้เถา หูใบติดทนหรือร่วงเร็ว ใบประกอบมี 3 ใบย่อย เรียงเวียน มีหูใบย่อย   Thuân, N.V. (1979). Leguminosae-Phaseoleae. Flore du Cambodge, Laos et
                  ใบคู่ข้างขนาดเล็กกว่าใบปลายเล็กน้อย ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบ   du Vietnam. 17: 175-199.
                  ใบประดับร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยก 4-5 แฉก ขนาดเล็ก ปลายแหลม   Wu, D., and M. Thulin. (2010). Fabaceae (Vigna) In Flora of China Vol. 10:
                                                                           255-259.
                  ดอกรูปดอกถั่ว โคนคอดเป็นก้านกลีบสั้น ๆ โคนมีรยางค์เป็นติ่ง 1-2 อัน กลีบกลาง
                  ส่วนมากรูปไต ปลายเว้า กลีบปีกส่วนมากรูปไข่กลับ กลีบคู่ล่างรูปคล้ายเคียวหุ้ม
                  เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้ มี 10 อัน เชื่อมติดกันเป็นสองกลุ่ม
                  กลุ่มหนึ่งมี 9 อัน อีกกลุ่มหนึ่งมี 1 อัน รังไข่ไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียปลายหนา มีขน
                  ยอดเกสรเบี้ยว ฝักแห้งแตกสองแนว

                    สกุล Vigna อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Faboideae เผ่า Phaseoleae หลายชนิดย้ายมาจาก
                    สกุล Phaseolus และ Dolichos มี 100-150 ชนิด พบในเขตร้อน ในไทยมีพืช
                    พื้นเมือง 13-15 ชนิด เป็นพืชต่างถิ่นที่เป็นพืชเศรษฐกิจหลายชนิด เช่น ถั่วเขียว
                    V. radiata (L.) R. Wilczek ถั่วอะซูกิ V. angularis (Willd.) Ohwi & H. Ohashi และ
                    ถั่วฝักยาว V. unguiculata (L.) Walp. subsp. sesquipedalis (L.) Verdc. เป็นต้น   ถั่วนก: ดอกสีม่วงอมขาว กลีบคู่ล่างรูปคล้ายเคียวหุ้มเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ฝักแบน รูปแถบ เกลี้ยง
                    ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Domenico Vigna (1577-1647)   (ภาพ: กรุงเทพฯ - RM)

                  186






         59-02-089_113-212_Ency new5-3 i_Coated.indd   186                                                                 3/5/16   4:54 PM
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211