Page 210 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 210

เถาไฟ เถาไฟ         สารานุกรมพืชในประเทศไทย          เถาวัลย์แดง
                Phanera integrifolia (Roxb.) Benth.                  Secamone villosa Blume
                วงศ์ Fabaceae                                        วงศ์ Apocynaceae
                  ชื่อพ้อง Bauhinia integrifolia Roxb.                ชื่อพ้อง Toxocarpus villosus (Blume) Decne.
                   ไม้เถาขนาดใหญ่ กิ่งอ่อนมีขนสีน�้าตาลแดง หูใบขนาดเล็ก ใบรูปไข่เกือบกลม   ไม้เถา ยาวได้กว่า 10 ม. น�้ายางสีขาว มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน
                ยาวได้ถึง 12 ซม. ปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ ก้านใบยาว 1-5 ซม. ช่อดอกแบบ  แผ่นใบด้านล่าง และช่อดอก ใบเรียงตรงข้าม รูปรีกว้างหรือรูปขอบขนาน ยาว
                ช่อเชิงหลั่นแยกแขนง ก้านดอกยาวได้ถึง 3 ซม. ใบประดับย่อยติดใกล้จุดกึ่งกลาง  4.5-12 ซม. ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ก้านช่อยาว 3-10 ซม.
                ก้านดอก ตาดอกรูปรี ยาว 3-5 มม. ฐานดอกสั้น กลีบเลี้ยงแยก 2-3 ส่วน ปลายกลีบ  ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปใบหอก ยาวประมาณ 3 มม.
                พับงอ ดอกสีเหลืองอมส้ม กลีบรูปไข่กลับ ยาว 0.8-1.5 ซม. มีขนประปรายด้านนอก   กลีบดอก 5 กลีบ เรียงทับกันด้านซ้ายในดอกตูม ดอกบานรูปกงล้อ หลอดกลีบสั้น
                เกสรเพศผู้ 3 อัน ยาวเท่า ๆ กลีบดอก เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน รังไข่มีขนสี  กลีบรูปใบหอก ยาว 0.8-1 ซม. โคนด้านในมีขนยาว กะบังมี 5 พู ปลายรูปลิ่มแคบ
                น�้าตาลแดง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 มม. ฝักรูปแถบ ยาว 15-20 ซม. เกลี้ยง   เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดที่โคนหลอดกลีบ แนบติดยอดเกสรเพศเมียเป็นเส้าเกสร
                มี 5-8 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แสลงพัน, สกุล)    ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน หุ้มรังไข่ ปลายยอดเกสรเพศเมียเป็นจะงอย ผลแห้ง
                   พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทย พบกระจายตั้งแต่จังหวัดระนอง  แตกแนวเดียว ติดฝักเดียวหรือเป็นคู่ กางออก รูปทรงกระบอก ยาว 8-18 ซม.
                แถบคอคอดกระลงไป ขึ้นตามชายป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร  เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก แบน เรียวยาวประมาณ 1 ซม.
                                                                     มีจะงอย ปลายมีขนกระจุกยาวประมาณ 2 ซม.
                  เอกสารอ้างอิง                                        พบที่จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน และชวา ในไทยส่วนมากพบทางภาคเหนือ
                   Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.   และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ความสูงถึง
                      In Flora of Thailand Vol. 4(1): 38-40.
                                                                     ประมาณ 700 เมตร
                                                                       สกุล Secamone R. Br. ในที่นี้ได้รวมเอาสกุล Toxocarpus ไว้ด้วย อยู่ภายใต้
                                                                       วงศ์ย่อย Secamonoideae ทำาให้มีจำานวนกว่า 130 ชนิด พบในแอฟริกา โดยเฉพาะ
                                                                       ในมาดากัสการ์ เอเชีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมีรายงาน 6 ชนิด ชื่อสกุล
                                                                       มาจากภาษาอาหรับ “squamona” ที่ใช้เรียกชนิด S. aegyptiaca W. T. Aiton
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Klackenberg, J. (2010). New species and combinations of Secamone (Apocy-
                  เถาไฟ: ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นแยกแขนง ตาดอกรูปรี ฝักเกลี้ยง (ภาพช่อดอก: พัทลุง - RP; ภาพผล: ตรัง - SSi)  naceae, Secamonoideae) from South East Asia. Blumea 55: 231-241.
                                                                       Li, B., M.G. Gilbert and W.D. Stevens. (1995). Asclepiadaceae (Toxocarpus). In
                เถาย่านาง                                                 Flora of China Vol. 16: 198.
                Tiliacora triandra (Colebr.) Diels
                วงศ์ Menispermaceae
                  ชื่อพ้อง Cocculus triandrus Colebr.
                   ไม้เถา มีหัวใต้ดิน แยกเพศต่างต้น ล�าต้นเหนียว ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือ
                แกมรูปไข่กลับ ยาว 5-17 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 2-6 เส้น คู่ล่างออกใกล้โคน
                ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ย่น ช่อดอกคล้ายช่อกระจะ ออกตามซอกใบ ช่อดอกเพศผู้
                ออกเป็นกระจุก ช่อดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ช่อยาว 2-8 ซม. ก้านช่อสั้น ดอกเพศผู้
                กลีบเลี้ยงมี 6-12 กลีบ วงในรูปรี ยาวประมาณ 2 มม. วงนอกขนาดเล็กกว่า กลีบดอก
                มี 3 หรือ 6 กลีบ รูปลิ่ม ยาวประมาณ 1 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ยาวประมาณ 2 มม.
                ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนประปราย กลีบดอกมี 6 กลีบ
                รูปขอบขนาน ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน มี 8-9 คาร์เพล ติดบนก้านชูเกสรเพศเมีย
                ยอดเกสรไร้ก้าน ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีเกือบกลม ยาว 0.7-1 ซม. สุกสีแดง ก้านชู
                ยาว 3-4 มม. ก้านผลยาว 2-3 มม.
                                                                      เถาวัลย์แดง: มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง และช่อดอก ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                   พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบแทบทุกภาค   ดอกรูปกงล้อ มีขนยาวที่โคนด้านใน (ภาพ: แม่สอด ตาก - PK)
                ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น ชายฝั่งทะเล และเขาหินปูน ความสูงไม่เกิน 300 เมตร
                ใบปรุงเป็นอาหารหลายชนิดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รากและใบใช้ถอนพิษ   เถาวัลย์เปรียง
                แก้ไข้ ใช้เข้ายาเขียว บ�ารุงธาตุ                     Derris scandens (Roxb.) Benth.
                                                                     วงศ์ Fabaceae
                   สกุล Tiliacora Colebr. มีประมาณ 25 ชนิด ส่วนใหญ่พบในแอฟริกา ในเอเชียมี
                   2 ชนิด ออสเตรเลียมี 1 ชนิด ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลเป็นชื่อพื้นเมืองในอินเดีย  ชื่อพ้อง Dalbergia scandens Roxb.
                   ที่ใช้เรียก T. acuminata (Lam.) Miers หรือชื่อ T. racemosa Colebr. ในปัจจุบัน  ไม้เถาเนื้อแข็ง กิ่งมีช่องอากาศ หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ใบประกอบมีใบย่อย
                                                                     9-13 ใบ ก้านใบยาว 2-5 ซม. มีหูใบย่อยขนาดเล็ก ใบรูปขอบขนานหรือแกมรูป
                  เอกสารอ้างอิง                                      ไข่กลับ ยาว 3-8 ซม. ใบปลายมีขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อย โคนก้านใบพอง ยาว
                   Forman, L.L. (1991). Menispermaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 345-346.
                                                                     1.5-5 มม. ช่อดอกคล้ายช่อกระจะ ออกตามซอกใบ ยาว 5-28 ซม. ก้านช่อยาว
                                                                     1.5-5 ซม. ดอกออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ โคนช่อคล้ายปุ่ม ยาว 2-6 มม. ใบประดับ
                                                                     รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก แต่ละช่อมี 5-10 ดอก ก้านดอกยาว 6-9 มม. มีขนคล้ายไหม
                                                                     ใบประดับย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงสีน�้าตาลแดงหรืออมเขียว เชื่อมติดกัน
                                                                     ประมาณ 2 มม. กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ แฉกตื้น ๆ ดอกสีขาวอมชมพู
                                                                     ยาวเท่า ๆ กัน มีก้านกลีบสั้น ๆ กลีบกลางรูปไข่กลับกว้าง ยาว 5-8 ซม. ปลายเว้า
                                                                     กลีบปีกรูปใบหอก กลีบคู่ล่างรูปเรือ เกสรเพศผู้ 10 อัน ติด 2 กลุ่ม 9 อัน เชื่อมติดกัน
                                                                     ยาว 0.9-1.2 ซม. รังไข่มีขน ฝักแบน รูปแถบ ยาว 4.5-9 ซม. ขอบบนเป็นปีก กว้าง
                  เถาย่านาง: ช่อดอกออกตามซอกใบ ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ บนแกนช่อ ผลสุกสีแดง (ภาพ: cultivated - RP)  1-2 มม. เมล็ดแบน รูปรี ยาวประมาณ 7 มม.

                190






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   190                                                                 3/1/16   5:25 PM
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215