Page 208 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 208

เถากระดึงช้าง
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                       พบที่พม่า ลาว เวียดนาม และภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทางภาคเหนือ
                                                                     ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบชื้น ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา
                                                                     ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร

                                                                       สกุล Iodes Blume มีประมาณ 19 ชนิด ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ I. vitiginea
                                                                       (Hance) Hance กลีบดอกในดอกเพศผู้เชื่อมติดกันมากกว่ากึ่งหนึ่ง ชื่อสกุลมาจาก
                                                                       ภาษากรีก “ios” สนิม iodes หมายถึง สีน้ำาตาลอมแดง
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Peng, H. and R.A. Howard. (2008). Icacinaceae. In Flora of China Vol. 11:
                                                                          511-512.
                                                                       Sleumer, H. (1970). Icacinaceae. In Flora of Thailad Vol. 2(1): 85-87.



                  ถั่วเล: ถิ่นที่อยู่ตามชายหาด ล�าต้นเกลี้ยง ช่อดอกยาว ฝักรูปทรงกระบอก (ภาพดอก: สิรินาถ ภูเก็ต, ภาพถิ่นที่อยู่
                และฝัก: อ่าวไข่ ระยอง; - RM)
                เถากระดึงช้าง
                Argyreia lanceolata Choisy
                วงศ์ Convolvulaceae                                   เถาคัน: ไม้เถามีมือจับ ใบเรียงตรงข้าม ผลสุกสีแดง (ภาพผลอ่อน: ตาก - PK; ภาพผลสุก: ดอยตุง เชียงราย - RP)
                   ไม้เถา ยาวได้ถึง 5 ม. ล�าต้นมีขนยาวสีเงิน ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 6-17 ซม.   เถาโคมกระดิ่ง
                ปลายมน มีติ่งแหลม แผ่นใบด้านล่างมีขนกระจาย ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกสั้น   Stauntonia brunoniana (Decne.) Hemsl.
                ส่วนมากมี 1-3 ดอก ก้านดอกยาว 0.6-1 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยาวได้ถึง   วงศ์ Lardizabalaceae
                1.2 ซม. ร่วงเร็ว มีขนหนาแน่น กลีบเลี้ยง 3 กลีบนอกรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก   ชื่อพ้อง Parvatia brunoniana Decne.
                ยาว 1.2-2 ซม. มีขนหยาบด้านนอก กลีบคู่ในกว้างกว่าเล็กน้อย ขยายในผล
                ดอกรูปแตร สีม่วงอมแดง ยาว 5-6.3 ซม. ปลายเรียบหรือเป็นติ่งสั้น ๆ เกสรเพศผู้  ไม้เถาเนื้อแข็ง แยกเพศต่างต้น เปลือกเป็นคอร์ก ใบประกอบมี 3 ใบย่อย
                ยาวไม่เท่ากัน ยาว 2.6-3.4 ซม. จานฐานดอกจัก 5 พู ตื้น ๆ รังไข่เกลี้ยง มี 2 ช่อง   เรียงเวียน ก้านยาว 3-8 ซม. ใบย่อยรูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 7-15 ซม. แผ่นใบ
                เกสรเพศเมียยาว 3.6-4 ซม. ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-8 มม. เกลี้ยง เมล็ดยาว   ด้านบนเป็นมันวาว ด้านล่างมีนวล ก้านใบย่อยยาว 1-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ
                3-4.5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เครือพุงหมู, สกุล)   ออกเป็นกระจุกตามซอกใบหรือกิ่ง 2-5 ช่อ ห้อยลง ก้านช่อสั้น ใบประดับและ
                                                                     ใบประดับย่อยขนาดเล็ก ติดทน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 6 กลีบ
                   พบที่อินเดีย พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ แทบทุกภาค   กลีบดอกรูปไข่ ขนาดเล็ก ยาวประมาณ 1.5 มม. ดอกเพศผู้ก้านดอกยาวประมาณ
                ยกเว้นภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเต็งรังผสมสนเขา   9 มม. กลีบเลี้ยงยาว 5-7 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นหลอด
                ความสูง 100-800 เมตร รากหนา ทนไฟและความแห้งแล้ง      สั้น ๆ ปลายแกนอับเรณูมีรยางค์รูปลิ่มแคบ ยาวกว่าอับเรณู เกสรเพศเมียที่เป็นหมัน
                                                                     รูปเส้นด้าย 3 อัน ดอกเพศเมีย ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม. กลีบเลี้ยงยาว 1-1.5 ซม.
                  เอกสารอ้างอิง
                   Staples, G. and P. Traiperm. (2010). Convolvulaceae (Argyreia). In Flora of   เกสรเพศผู้เป็นหมันมีรยางค์รูปเส้นด้าย มี 3 คาร์เพล เกสรเพศเมียไร้ก้าน ยอดเกสร
                      Thailand Vol. 10(3): 350-351.                  รูปลิ่มแคบ ผลสด ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 3.5 ซม. มีปุ่ม
                                                                     เล็ก ๆ กระจาย เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก มีเยื่อหุ้ม
                                                                       พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า เวียดนามตอนบน และภาคเหนือของไทย ขึ้นตาม
                                                                     ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูง 450-1700 เมตร

                                                                       สกุล Stauntonia DC. มีประมาณ 25 ชนิด พบในอินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ญี่ปุ่น
                                                                       และเวียดนาม ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ
                                                                       Sir George Leonard Staunton (1737-1801)
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Chen, D. and T. Shimizu. (2001). Lardizabalaceae. In Flora of China Vol. 6:
                  เถากระดึงช้าง: ช่อดอกออกตามซอกใบ สั้น มี 1-3 ดอก กลีบเลี้ยงมีขนหยาบด้านนอก ดอกรูปแตร ปลายเรียบ  447-448.
                หรือเป็นติ่งสั้น ๆ (ภาพ: อุบลราชธานี - PK)             Larsen, K. (2005). Lardizabalaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(1). 39-41.
                เถาคัน
                Iodes cirrhosa Turcz.
                วงศ์ Icacinaceae
                   ไม้เถาเนื้อแข็ง แยกเพศต่างต้น กิ่งและช่อดอกมีขนสีน�้าตาลแดงหนาแน่น
                มือจับออกตามซอกใบ ปลายแยก 2 แฉก ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่ ยาว 5-18 ซม.
                โคนกลมหรือเว้าตื้น แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มด้านล่าง ก้านใบยาว 1-3.5 ซม. ช่อดอก
                แบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาว 2-12 ซม. ก้านช่อยาว 1-4 ซม.
                ดอกขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกเกือบจรดโคน ยาวประมาณ 2 มม. มีขนหยาบ
                ดอกสีขาวหรือเหลือง มี 5 กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน กลีบรูปใบหอก ยาว 2-3 มม.
                เกสรเพศผู้ 5 อัน อับเรณูเกือบไร้ก้าน ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้แต่ไม่มีกลีบดอก
                และไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน รังไข่รูปทรงกระบอก มีขนหยาบ ไม่เจริญในดอกเพศผู้
                ผลผนังชั้นในแข็ง บุ๋มเป็นร่างแห รูปรี เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 1.2-2 ซม. ผนังชั้นนอกสด
                                                                      เถาโคมกระดิ่ง: เปลือกเป็นคอร์ก ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง กลีบเลี้ยงมี 6 กลีบ
                ผิวบาง มีขนสั้นนุ่ม สุกสีแดง                         ดอกเพศผู้ก้านดอกสั้น (ภาพ: ดอยสุเทพ เชียงใหม่ - HB)

                188






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   188                                                                 3/1/16   5:24 PM
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213