Page 203 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 203
เต่าไห้
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Arenga อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae เผ่า Caryoteae มี 24 ชนิด แผ่นใบด้านล่างมีนวล ช่อดอกแบบช่อเชิงลดแยกแขนง ช่อดอกเพศผู้ออกด้านข้าง
พบในเอเชียและออสเตรเลีย ในไทยมี 5 ชนิด แยกเป็นสกุลย่อย Didymosperma ยาว 40-50 ซม. ก้านช่อยาวได้ถึง 30 ซม. ดอกเรียงเวียนเป็นกระจุก แต่ละกระจุก
ปาล์มขนาดเล็ก ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ส่วนมากไม่แยกแขนง มี 2 ชนิด ส่วน มีดอกเพศผู้ 2 ดอก และดอกเพศเมียที่เป็นหมันหนึ่งดอก ดอกเพศผู้ยาว 5-6 มม.
สกุลย่อย Arenga ปาล์มขนาดใหญ่ ช่อดอกแยกแขนง มี 3 ชนิด คือ A. obtusifolia กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 3 กลีบ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันที่โคน กลีบดอก
Mart. พบทางภาคใต้ หายาก แตกกอห่าง ๆ ดอกออกจากโคนสู่ปลายต้นแล้วตาย แยกกัน เกสรเพศผู้มี 11-16 อัน ช่อดอกเพศเมียออกที่ยอด ตั้งขึ้น ยาวเท่า ๆ
อีก 2 ชนิด คือ ต๋าว A. pinnata (Wurmb) Merr. มักพบปลูกเป็นไม้ผล และ รังกับ ช่อดอกเพศผู้ ดอกเพศเมียยาวประมาณ 3 มม. ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน รังไข่มี
A. westerhoutii Griff. ลักษณะคล้ายกันมาก ต่างกันที่การเรียงตัวของใบ ต๋าว 3 ช่อง ผลรูปรี ยาว 1.5-1.7 ซม. ผลแก่สีแดง
เรียงต่างทิศทาง ส่วนรังกับเรียงในระนาบเดียว ซึ่งทั้งสองชนิดผลมีพิษ ชื่อสกุล พบที่อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต้ และพม่า ในไทยพบกระจายทางภาคเหนือ
มาจากภาษามาเลย์ “arenge” ที่เรียกพืชในสกุลนี้
และภาคใต้ที่ระนอง พังงา ภูเก็ต และตรัง ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา
ความสูง 500-1200 เมตร
เต่าร้างหนู
Arenga caudata (Lour.) H. E. Moore สกุล Wallichia Roxb. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae เผ่า Caryoteae มี 8 ชนิด
ชื่อพ้อง Borassus caudatum Lour. พบที่อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยมี 3 ชนิด
อีก 2 ชนิด คือ ปาล์มนเรศวร W. disticha T. Anderson พบที่กาญจนบุรี ลำาต้นเดี่ยว
ปาล์มขนาดเล็กแตกกอ สูงได้ถึง 2 ม. ล�าต้นเส้นผ่านศูนย์กลางโตได้ถึง 2 ซม. ใบประกอบเรียงสลับระนาบเดียว และ W. marianneae Hodel พืชถิ่นเดียว
ใบมีประมาณ 10 ใบ เรียงเวียน ใบประกอบแบบขนนก ก้านใบประกอบยาว ของไทย พบที่ตรัง แตกกอ ใบเรียวแคบ เกสรเพศผู้มี 16-19 อัน ชื่อสกุลตั้งตาม
30-60 ซม. ใบย่อยเรียงห่าง ๆ มี 4-10 ใบ รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด โคนเรียวแคบ นักพฤกษศาสตร์ชาวดัตช์ Nathaniel Wallich (1786-1854)
ยาว 20-80 ซม. ปลายจักไม่เป็นระเบียบ แผ่นใบด้านล่างมีนวลสีเงินอมเทา ช่อดอก
แบบช่อเชิงลด มี 2-3 ช่อ ออกตามซอกใบใกล้โคน ยาว 25-30 ซม. โค้งลง ช่วงปลาย เอกสารอ้างอิง
ส่วนมากเป็นช่อดอกเพศเมีย พบน้อยที่แตกแขนง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง Barfod, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol.
1-1.5 ซม. ผลแก่สีส้มอมแดง 11(3): 491-493.
พบที่พม่า ไห่หนาน ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค
ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น เขาหินปูนที่ชุ่มชื้น ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Pongsattayapipat, R. (2012). Arecaceae (Arenga). In Flora of Thailand Vol.
11(3): 333-337.
เต่าร้างหนู: ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยเรียงสลับระนาบเดียว ปลายจักแหลมไม่เป็นระเบียบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด
แยกแขนง ช่อดอกเพศผู้ออกด้านข้าง ช่อดอกเพศเมียออกที่ยอด ตั้งขึ้น (ภาพ: แม่วงก์ ก�าแพงเพชร - SSi)
เต่าร้างศรีสยาม: ใบเดี่ยว ขอบใบจักแหลมเป็นแฉก ท้องใบมีนวล ช่อดอกแบบช่อเชิงลด โค้งลง ออกตามซอกใบ
ใกล้โคน ผลแก่สีส้มอมแดง (ภาพ: cultivated; ภาพต้นและผล - RP; ภาพช่อดอก - NP) ปาล์มนเรศวร: ล�าต้นเดี่ยว ใบประกอบเรียงสลับระนาบเดียว ขอบกาบใบมีเส้นใยหนาแน่น (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวร
กาญจนบุรี - RP)
เต่าไห้
Ichnocarpus frutescens (L.) W. T. Aiton
วงศ์ Apocynaceae
ชื่อพ้อง Apocynum frutescens L.
ไม้เถา กิ่งแก่มีช่องอากาศ ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่
ยาว 2.5-12.5 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบยาว 0.4-3 ซม. มักมีต่อม
ตามซอกใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาว 1.5-15 ซม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยง
เต่าร้างหนู: ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยเรียงห่าง ๆ รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด โคนเรียวแคบ ปลายจักไม่เป็น 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2 มม. มีขนสั้นนุ่ม ดอกรูปแตร สีขาวหรือ
ระเบียบ ช่อผลโค้งลง (ภาพ: นครศรีธรรมราช - RP); รังกับ: ใบเรียงในระนาบเดียว (ภาพ: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี - SSi) อมเหลือง กลีบเวียนทับกันด้านขวาในตาดอก หลอดกลีบยาว 2-4 มม. ด้านนอก
เต่าร้างหนู มีขน หนาแน่นที่ปากหลอด กลีบ 5 กลีบ ยาว 2.5-6 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใต้
กึ่งกลางหลอดกลีบดอก ไม่ยื่นพ้นปากหลอด ก้านชูอับเรณูสั้น จานฐานดอกจัก
Wallichia caryotoides Roxb. เป็นพูแยกกัน ยาวกว่ารังไข่ คาร์เพลแยกกัน มีขน เกสรเพศเมียยาว 1-2 มม.
วงศ์ Arecaceae ผลเป็นฝักคู่ รูปแถบ กางออก ยาวได้กว่า 15 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก รูปแถบ ยาว
ปาล์มขนาดเล็กแตกกอ สูงได้ถึง 3 ม. แยกเพศร่วมต้น ล�าต้นเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 มม. มีขนกระจุกยาว 1.8-3 ซม.
โตได้ถึง 10 ซม. ใบมี 4-7 ใบ เรียงเวียน ใบประกอบแบบขนนก ก้านใบประกอบ พบที่อินเดีย ปากีสถาน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี
ยาว 0.8-1.5 ม. ขอบกาบใบมีเส้นใยหนาแน่น ใบย่อยมี 8-12 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลียตอนบน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นแทบทุกสภาพป่า ความสูง
รูปขอบขนานถึงรูปใบหอก มักจัก 2 พู ยาวได้ถึง 50 ซม. ปลายจักไม่เป็นระเบียบ ถึงประมาณ 850 เมตร ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
183
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 183 3/1/16 5:33 PM