Page 205 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 205

โตงวะ      สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ถ้วยทอง
                                                                        Ipomoea obscura (L.) Ker Gawl.
                                                                        วงศ์ Convolvulaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Convolvulus obscurus L.
                                                                           ไม้เถาล้มลุก ยาวได้กว่า 2 ม. ล�าต้นมีขนสั้นนุ่ม ใบรูปรีกว้างหรือรูปหัวใจ
                                                                        ยาว 2-8 ซม. แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนกระจาย ก้านใบยาว 1.5-3.5 ซม. ช่อดอก
                      แตงหนู: M. gracilis ใบคล้ายรูปเงี่ยงใบหอก ล�าต้นมีขนแข็งยาว ช่อดอกเพศเมียบางครั้งมีดอกเพศผู้ปน ผลกลม   แบบช่อกระจุกออกตามซอกใบ มี 1-3 ดอก ก้านช่อยาว 1-4 ซม. ใบประดับรูป
                    (ภาพ: แม่ฮ่องสอน - BD)
                                                                        ลิ่มแคบ ยาวประมาณ 1.5 มม. ก้านดอกยาว 0.8-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 3-4 มม.
                                                                        มีขนด้านนอก ดอกรูปแตร ยาว 2-2.5 ซม. สีขาวหรืออมเหลือง แถบกลางสีเข้ม
                                                                        โคนกลีบสีแดงอมม่วง ก้านเกสรเพศผู้รูปเส้นด้าย ยาวไม่เท่ากัน ไม่ยื่นพ้นปาก
                                                                        หลอดกลีบ รังไข่เกลี้ยง ผลรูปไข่ ยาว 6-8 มม. ปลายเป็นติ่งแหลม เมล็ดรูป
                                                                        สามเหลี่ยมกลม ยาว 4-5 มม. มีขนสั้นนุ่ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักบุ้ง, สกุล)
                                                                           พบที่แอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี
                                                                        ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ความสูงระดับต�่า ๆ
                      แตงหนู: M. javanica ใบคล้ายรูปสามเหลี่ยม จักตื้น 3-5 พู ผลรูปรี มี 1-4 ผล (ภาพ: น�้าหนาว เพชรบูรณ์ - PK)
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 419.








                      แตงหนู: M. maderaspatana ใบคล้ายรูปสามเหลี่ยม จัก 3-5 พู ล�าต้นมีขนสากหรือขนยาว ผลกลม (ภาพ: ล�าปาง - BD)

                    แตงหนู
                    Scopellaria marginata (Blume) W. J. de Wilde & Duyfjes
                                                                          โตงวะ: ไม้เถาล้มลุก ใบรูปหัวใจ ช่อดอกแบบช่อกระจุก มี 1-3 ดอก ดอกรูปแตร สีขาวหรืออมเหลือง แถบกลางสีเข้ม
                    วงศ์ Cucurbitaceae                                  โคนกลีบสีแดงอมม่วง (ภาพ: พิจิตร - RP)
                      ชื่อพ้อง Bryonia marginata Blume, Zehneria marginata (Blume) Keraudren
                       ไม้เถาล้มลุก แยกเพศร่วมต้น มือจับไม่แยกแขนง ล�าต้นสาก ใบรูปสามเหลี่ยม   ถ้วยทอง
                    รูปไข่ หรือรูปหัวใจ เรียบหรือจัก 3-5 พู ยาว 4-16 ซม. แผ่นใบด้านล่างสาก มีขนหยาบ  Solandra maxima (Moc. & Sessé ex Dunal) P. S. Green
                    ตามเส้นแขนงใบ ขอบเรียบหรือจักซี่ฟันห่าง ๆ ก้านใบยาว 1-5 ซม. มีขน ช่อดอกเพศผู้  วงศ์ Solanaceae
                    แบบช่อกระจะ มี 1-3 ช่อ ก้านช่อยาว 1.5-6 ซม. มีได้ถึง 25 ดอก มักมีดอกเพศเมีย  ชื่อพ้อง Datura maxima Moc. & Sessé ex Dunal
                    ปนในช่อดอกเพศผู้ แกนช่อยาว 0.5-2 ซม. ก้านดอกยาว 2-7 มม. ฐานดอกสั้น   ไม้พุ่มรอเลื้อยหรืออิงอาศัย ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาวได้ถึง 15 ซม.
                    มีขนหยาบ ปากมีขน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาวประมาณ 1 มม. ก้านชูอับเรณูยาวกว่า  ก้านใบยาว 1-5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามปลายกิ่ง สีเขียวอมเหลือง ด้านในมี
                    อับเรณู ยาว 1-1.5 มม. จานฐานดอกกลมแบน ดอกเพศเมีย 1-2 ดอก คล้าย  ปื้นสีม่วงน�้าตาล หลอดกลีบเลี้ยงสั้นกว่าหลอดกลีบดอก ยาว 5-8 ซม. ปลายแยก
                    ดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 0.5-3 ซม. จานฐานดอกเป็นวง รังไข่มีขน เกสรเพศเมีย  2-5 แฉกตื้น ๆ ไม่สมมาตร ดอกรูปถ้วยสอบ ยาว 16-24 ซม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ
                    มี 3 พู จักชายครุย ยาวประมาณ 2 มม. ผลสดมีหลายเมล็ด รูปรีหรือกลม ยาว   ตื้น ๆ เรียงซ้อนเหลื่อม ขอบจักชายครุย เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดเหนือโคนหลอดกลีบ
                    1-1.5 ซม. สุกสีแดง เมล็ดรูปไข่ แบน ยาว 3-6 มม. ผิวเป็นร่อง   8-10 ซม. จุดติดบนหลอดกลีบมีขน ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก อับเรณูติดที่ฐาน
                       พบที่พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา ชวา   รูปขอบขนาน ยาว 0.9-1.3 ซม. มี 2 คาร์เพล แต่ละคาร์เพลมี 4 ช่อง บางส่วน
                    ฟิลิปปินส์ และซูลาเวซี ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   อยู่ใต้วงกลีบ มีต่อมน�้าต้อย ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรแยกเป็น 2 พู
                    ขึ้นตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร            ผลสดมีหลายเมล็ด รูปกรวยกว้าง ยาว 4-5 ซม. ผนังเหนียว
                                                                           มีถิ่นก�าเนิดในเม็กซิโก โคลัมเบีย และเวเนซูเอลา เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน
                       สกุล Scopellaria W. J. de Wilde & Duyfjes มีเพียง 2 ชนิด ในไทยมีชนิดเดียว   คล้ายกับ S. grandiflora Sw. ที่ปากหลอดกลีบดอกแคบกว่า หลอดกลีบเลี้ยง
                       แยกเป็น var. penangense (C. B. Clarke) W. J. de Wilde & Duyfjes ใบไม่จัก  ยาวกว่าหลอดกลีบดอกที่เรียวแคบ ส่วนต่าง ๆ มีพิษ
                       เป็นพู ส่วน S. diversifolia (Merr.) W. J. de Wilde & Duyfjes พบที่บอร์เนียว
                       ชื่อสกุลเปลี่ยนมาจากสกุล Scopella ซึ่งไปซ้ำากับของวงศ์ Pucciniaceae ของเห็ดรา  สกุล Solandra Sw. มีประมาณ 10 ชนิด มีถิ่นกำาเนิดในอเมริกากลางและใต้
                                                                           ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน Daniel Carl Solander (1733-1782)
                      เอกสารอ้างอิง
                       de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2008). Cucurbitaceae. In Flora of   เอกสารอ้างอิง
                          Thailand Vol. 9(4): 492-495.                     Bernardello, L.M. and A.T. Hunziker. (1987). A synoptical revision of Solandra
                                                                              (Solanaceae). Nordic Journal of Botany 7(6): 639-652.









                      แตงหนู: มือจับไม่แยกแขนง ใบรูปสามเหลี่ยมยาว ไม่จักเป็นพู ช่อดอกเพศผู้แบบช่อกระจะ ก้านช่อยาว เกสรเพศผู้
                    3 อัน ผลสุกสีแดง (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - RP)      ถ้วยทอง: หลอดกลีบเลี้ยงสั้นกว่าหลอดกลีบดอก กลีบดอกด้านในมีปื้นสีม่วงน�้าตาล (ภาพ: cultivated - RP)

                                                                                                                    185






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   185                                                                 3/1/16   5:33 PM
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210