Page 200 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 200

ตีนฮุ้งดอย


                ตีนฮุ้งดอย          สารานุกรมพืชในประเทศไทย           เอกสารอ้างอิง
                                                                       Puff, C., K. Chayamarit and V. Chamchumroon. (2005). Rubiaceae of Thailand.
                Paris polyphylla Sm. var. chinensis (Franch.) H. Hara     Forest Herbarium. Bangkok.
                วงศ์ Melanthiaceae                                     Wong, K.M. (1988). The Antirheoideae (Rubiaceae) of the Malay Peninsula.
                  ชื่อพ้อง Paris chinensis Franch.                        Kew Bulletin 43: 491-518.
                   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.3 ม. มีเหง้าใต้ดิน ใบเดี่ยวเรียงเป็นวงรอบข้อ 5-11 ใบ
                รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6-30 ซม. ก้านใบยาว 1-6 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ
                ที่ปลายยอด ก้านดอกยาว 5-65 ซม. ใบประดับคล้ายใบ 3-7 ใบ ติดทน กลีบรวม
                ลดรูปเป็นเส้นเรียวยาว 3-7 อัน เรียง 2 วง วงในสั้นกว่าวงนอกเล็กน้อย ยาว
                6-12 ซม. ติดทน เกสรเพศผู้ส่วนมากจ�านวนเป็น 2 เท่าของกลีบรวม ก้านชูอับเรณู
                แบน ยาว 5-6 มม. อับเรณูยาว 1-1.2 ซม. ปลายมีรยางค์ยาว 1-2 มม. รังไข่มีริ้ว
                มีช่องเดียว พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ ก้านเกสรเพศเมียสั้น โคนแผ่กว้าง สีม่วง
                ยอดเกสรมี 4-5 พู ผลสดมีหลายเมล็ด มีเยื่อหุ้มอวบน�้าสีแดง
                   พบที่จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ   ตุ้มหูทอง: ช่อดอกเพศผู้แบบช่อกระจุกปลายม้วน ดอกจ�านวนมาก ไร้ก้าน กลีบดอก 4 กลีบ (ภาพซ้าย: แว้ง
                ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง 900-2000 เมตร มีความผันแปรสูง จ�าแนกเป็นหลาย   นราธิวาส - MT); ตุ้มหูทอง: var. penangianus ช่อดอกเพศเมียมี 1-5 ดอก ผลกลม (ภาพขวา: เบตง ยะลา - RP)
                varieties ส่วนใหญ่พบในจีน เหง้าใช้บรรเทาโรคหอบหืด รากมีสรรพคุณหลายอย่าง
                                                                     เต็ง
                   สกุล Paris L. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Liliaceae และ Trilliaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย   Shorea obtusa Wall. ex Blume
                   Melanthieae ร่วมกับสกุล Veratrum และสกุล Daisawa มีประมาณ 24 ชนิด พบ  วงศ์ Dipterocarpaceae
                   ในเอเชียและยุโรป ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลเป็นภาษาละติน หมายถึงเท่า ๆ กัน
                   ตามการเรียงตัวของส่วนต่าง ๆ ของพืชที่สมมาตรตามรัศมี  ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ชันสีขาวขุ่น มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง หูใบ ก้านใบ แผ่นใบ
                                                                     ด้านล่าง ช่อดอก กลีบดอกและกลีบเลี้ยงด้านนอก หูใบรูปขอบขนาน ยาว 5-6 มม.
                  เอกสารอ้างอิง                                      ใบรูปขอบขนาน ยาว 5-15 ซม. ปลายมนหรือกลม มีตุ่มใบเป็นขน เส้นแขนงใบย่อย
                   Liang, S.Y. and V.G. Soukup. (2000). Liliaceae (Paris). In Flora of China Vol.   แบบขั้นบันได ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกยาว 4-10 ซม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ
                      24: 90.
                                                                     2 มม. ดอกสีขาวครีม กลีบรูปแถบ ยาว 1-1.2 ซม. เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน
                                                                     ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 6 มม. แกนอับเรณูรูปเส้นด้าย มีขน 2-4 เส้น รังไข่
                                                                     และฐานก้านยอดเกสรเพศเมียรูปไข่ มีขนสั้นนุ่ม คอดเล็กน้อย ยาวประมาณ 2 มม.
                                                                     ผลรูปไข่ ยาว 0.8-1 ซม. ปลายมีติ่งแหลม ปีกยาว 3 ปีก ยาว 4.5-5 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก
                                                                     ยาว 3-3.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พะยอม, สกุล)
                                                                       พบที่พม่า และคาบสมุทรอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม
                                                                     ป่าเต็งรัง และป่าเต็งรังผสมสน ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Pooma, R. and M. Newman. (2001). Checklist of Dipterocarpaceae in Thailand.
                                                                          Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 167-169.
                                                                       Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du
                                                                          Cambodge, du Laos et du Vietnam. 25: 86-87.



                  ตีนฮุ้งดอย: ใบประดับคล้ายใบ ติดทน กลีบรวมลดรูปเป็นเส้นเรียวยาว ผลสดมีหลายเมล็ด มีเยื่อหุ้มอวบน�้าสีแดง
                (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่; ภาพดอก - NS, ภาพผล - SSi)
                ตุ้มหูทอง
                Timonius corneri K. M. Wong
                วงศ์ Rubiaceae
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 18 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ร่วงเร็ว
                ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 7-16 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสี  เต็ง: ดอกสีขาวครีม กลีบรูปแถบ กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีกยาว 3 ปีก ปีกสั้น 2 ปีก ปลายผลมีติ่งแหลม (ภาพดอก:
                น�้าตาลแดง ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกปลายม้วน ก้านช่อยาว   พิบูลมังสาหาร อุบลราชธานี - MP; ภาพผล: สวนผึ้ง ราชบุรี - PK)
                0.5-2 ซม. กลีบดอกและกลีบเลี้ยงจ�านวนอย่างละ 4 กลีบ ในดอกเพศเมียอาจมี  เตยชะงด
                ได้ถึง 8 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแฉกตื้น ๆ ติดทน ดอกรูปดอกเข็ม สีเหลือง
                หรือสีครีม หลอดกลีบยาว 5-6 มม. กลีบยาวประมาณ 3 มม. เกสรเพศผู้ 4 อัน   Freycinetia javanica Blume
                ติดใต้ปากหลอดกลีบ อับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ยื่นพ้นหลอดกลีบในดอกเพศผู้   วงศ์ Pandanaceae
                รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียยาว 5-6 มม. ยอดเกสรมี 4 พู รูปแถบ ยาวประมาณ   ไม้พุ่มเกาะหรือพาดเลื้อย ยาวได้ถึง 20 ม. มีรากอากาศ ล�าต้นเกลี้ยง ใบเรียงเวียน
                1.5 มม. ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรีกว้างหรือกลม ยาว 5-7 มม. ไพรีนจ�านวนมาก   หนาแน่นที่ปลายยอด รูปขอบขนานถึงรูปแถบ ยาว 5-25 ซม. ใบติดช่อดอกขนาดเล็ก
                   พบที่คาบสมุทรมลายู ในไทยพบเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงใต้และภาคใต้   และสั้นกว่า ก้านใบสั้นโอบรอบล�าต้น โคนมีติ่งกาบบาง ๆ ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ
                ขึ้นกระจายห่าง ๆ ในป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร มีความผันแปรสูง   ช่วงปลายใบ เส้นใบจ�านวนมาก ช่อดอกออกสั้น ๆ ที่ปลายยอด ส่วนมากมีเพศเดียว
                แยกเป็น var. penangianus (Ridl.) K. M. Wong ช่อดอกเพศเมียมี 1-5 ดอก   ช่อดอกย่อยแบบช่อเชิงลดมีกาบหรือใบประดับ มี 2-5 ช่อ เรียงแบบช่อซี่ร่ม
                                                                     ยาว 4-5 ซม. ก้านช่อหนา ยาวประมาณ 1 ซม. กาบมี 3 วง สีส้มหรืออมเหลือง
                   สกุล Timonius DC. มี 160-200 ชนิด ส่วนใหญ่อยู่ในภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยมี   รูปใบหอก ยาว 5-7 ซม. ปลายจักฟันเลื่อย ไม่มีวงกลีบรวม เกสรเพศผู้เรียงอัดแน่น
                   2 ชนิด อีกชนิด คือ T. flavescens (Jacq.) Baker พบในป่าพรุ จังหวัดนราธิวาส   บนแกน รังไข่มีช่องเดียว เรียงหนาแน่น มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันล้อมรอบ ผล
                   ใบเล็กกว่า แผ่นใบเกลี้ยง ก้านดอกยาว               คล้ายผลสดมีหลายเมล็ด

                180






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   180                                                                 3/1/16   5:32 PM
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205