Page 211 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 211
เถาหงอนไก่
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
พบที่อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย รูปใบพาย ยาวประมาณ 5 มม. กลีบคู่นอกสั้นกว่าเล็กน้อย ปลายกลีบเป็นร่องตื้น
ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่าที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ มีติ่งแหลมชี้ออก ดอกรูประฆัง สีเหลือง ยาว 0.6-1 ซม. มีริ้วระหว่างกลีบดอก
750 เมตร เปลือกมีพิษใช้เบื่อปลา ต้นและรากแก้ข้อเสื่อม แก้ไข้ และขับปัสสาวะ เกสรเพศผู้ยาวไม่เท่ากัน สั้นกว่ากลีบดอกเล็กน้อย รังไข่เกลี้ยง ผลรูปกรวยกว้าง
หรือเกือบกลม ยาว 5-6 มม. ผิวย่นเล็กน้อย เมล็ดรูปสามเหลี่ยมมน เกลี้ยงหรือ
สกุล Derris Lour. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Faboideae เผ่า Millettieae มีประมาณ มีขน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ จิงจ้อเหลือง, สกุล)
50 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 16 ชนิด พบที่แอฟริกา ปากีสถาน เนปาล อินเดีย ศรีลังกา จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “derris” แผ่นหนัง ตามลักษณะเปลือกเมล็ด
และมาเลเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นเป็นวัชพืช
เอกสารอ้างอิง ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร ใบบดผสมขมิ้นและข้าวแก้ทอนซิลอักเสบ
Sirichamorn, Y. (2013). Systematics and biogeography of Aganope, Brachypterum
and Derris (Fabaceae) in Asia. Naturalis Biodiversity Center, Sector Botany, เถาสะอึกใหญ่
Leiden, The Netherlands.
Merremia gemella (Burm. f.) Hallier f.
ชื่อพ้อง Convolvulus gemellus Burm. f.
ไม้เถา มีรากตามข้อ ใบรูปไข่ หรือจัก 3 พู ยาว 2.5-6.5 ซม. โคนรูปหัวใจกว้าง
แผ่นใบบางครั้งมีขนยาวประปราย ก้านใบยาว 1.5-6 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม
แยกแขนงสั้น ๆ ยาวได้ถึง 10 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว
3-6 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่กลับเกือบกลม ด้านนอกมีขน กลีบคู่นอกยาว 4-6 มม.
3 กลีบในยาว 6-7 มม. ปลายกลีบเว้าตื้น ขยายในผล ดอกรูประฆัง สีเหลือง ยาว
1.5-2 ซม. มีริ้วระหว่างกลีบดอก เกสรเพศผู้ยาวเท่า ๆ กัน รังไข่เกลี้ยง ผลกลม แบน
เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 มม. ผิวย่น เมล็ดรูปสามเหลี่ยมมน มีขนละเอียด (ดู
ข้อมูลเพิ่มเติมที่ จิงจ้อเหลือง, สกุล)
เถาวัลย์เปรียง: ไม้เถาเนื้อแข็ง ช่อดอกคล้ายช่อกระจะ ดอกออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ กลีบเลี้ยงสีน�้าตาลอมแดง ฝักแบน
รูปแถบ ขอบบนเป็นปีกแคบ ๆ (ภาพ: เพชรบุรี - WW) พบที่พม่า จีนตอนใต้ เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลีย
และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ตอนล่าง ขึ้น
เถาสองสลึง ตามชายป่า ที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
Ipomoea pileata Roxb. เอกสารอ้างอิง
วงศ์ Convolvulaceae Fang, R. and G. Staples. (1995). Convolvulaceae. In Flora of China Vol. 16: 293.
Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 435-437.
ไม้เถา ยาว 1-2 ม. มีขนยาวหนาแน่นตามล�าต้น แผ่นใบด้านล่าง ใบประดับ
ใบประดับย่อย และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปหัวใจ ยาว 2.5-9 ซม. ก้านใบยาว
1.5-6 ซม. ช่อดอกเป็นกระจุกแน่นติดบนวงใบประดับ ก้านช่อยาวได้ถึง 7 ซม.
ใบประดับรูปเรือ ยาว 2.5-5.5 ซม. ใบประดับย่อยรูปใบพายขนาดเล็ก ดอกบาน
ช่วงเย็นและกลางคืน ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงติดทน กลีบนอกรูปรีแกมรูปใบพาย
ยาว 0.8-1 ซม. กลีบคู่ในรูปใบหอก ดอกรูปแตร สีม่วงหรือชมพู ยาว 2.5-3 ซม.
ปลายจักตื้น ๆ มีแถบขนยาว เกสรเพศผู้ติดประมาณกึ่งกลางหลอดกลีบ รังไข่เกลี้ยง
เกสรเพศผู้และเพศเมียไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
5-6 มม. เมล็ดยาว 3-4 มม. มีขนสั้นนุ่ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ผักบุ้ง, สกุล) เถาสะอึก: ใบจัก 3 พู ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม ออกสั้น ๆ ปลายกลีบเลี้ยงเป็นร่อง เว้าตื้น มีติ่งแหลม ผลรูปรีกว้าง
เกือบกลม กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: ปทุมธานี - RP)
พบที่แอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 422.
เถาสะอึกใหญ่: ใบรูปไข่ โคนรูปหัวใจกว้าง ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม แยกแขนงสั้น ๆ เกสรเพศผู้ยาวเท่า ๆ กัน
(ภาพ: สระบุรี - PK)
เถาหงอนไก่
Rourea mimosoides (Vahl) Planch.
เถาสองสลึง: ใบรูปหัวใจ ช่อดอกเป็นกระจุกแน่นติดบนวงใบประดับ ใบประดับและกลีบเลี้ยงมีขนยาวหนาแน่น วงศ์ Connaraceae
ดอกรูปแตร สีม่วงหรือชมพู ปลายจักตื้น ๆ มีแถบขนยาว โคนกลีบดอกมีสีเข้มด้านใน (ภาพ: กาญจนบุรี - PK)
ชื่อพ้อง Connarus mimosoides Vahl
เถาสะอึก ไม้เถาเนื้อแข็งหรือไม้พุ่มรอเลื้อย ใบประกอบปลายคี่ มีใบย่อยได้ถึง 25 คู่
Merremia hederacea (Burm. f.) Hallier f. รูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 1-3 ซม. ปลายแหลม กลม หรือเว้าตื้น โคนกลม แผ่นใบ
วงศ์ Convolvulaceae เกลี้ยงหรือมีขนด้านล่าง เส้นใบไม่ชัดเจน เกือบไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง
ชื่อพ้อง Evolvulus hederaceus Burm. f. ออกเป็นกระจุก 1-3 ช่อ ตามซอกใบ ยาวได้ถึง 12 ซม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยง
5 กลีบ รูปไข่ ยาว 1.5-2 ซม. ขยายแนบติดผล มีขนด้านนอก กลีบดอก 5 กลีบ
ไม้เถา มีรากตามข้อ ใบรูปไข่กว้าง คล้ายรูปหัวใจ จัก 3 พู ยาว 1.5-7.5 ซม. รูปใบหอก ยาว 3-5 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวไม่เท่ากัน มี 5 คาร์เพล เกสรเพศเมีย
แผ่นใบมีขนละเอียดกระจาย ก้านใบยาว 0.5-5 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม ออกสั้น ๆ มีทั้งแบบสั้นและแบบยาว ยอดเกสรจัก 2 พู ผลมักติดเพียงผลเดียว รูปขอบขนาน
หรือยาวได้ถึง 5 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 2-5 มม. กลีบเลี้ยง โค้งเล็กน้อย ยาวประมาณ 1.5 ซม. แตกด้านบน เมล็ดมีเยื่อหุ้ม
191
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 191 3/1/16 5:26 PM