Page 216 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 216
ทะลอก
ทะลอก สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Vatica philastreana Pierre
วงศ์ Dipterocarpaceae
ชื่อพ้อง Diospyros addita H. R. Fletcher, Vatica thorelii Pierre
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. มีขนละเอียดตามกิ่งอ่อน หูใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก
ใบรูปขอบขนาน ยาว 6-13 ซม. เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบยาว
0.7-1.2 ซม. ช่อดอกยาว 4-9 ซม. ตาดอกรูปใบหอก ยาว 1-1.3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่
ยาวประมาณ 2 มม. ขยายในผล กลีบดอกรูปใบหอก ยาวประมาณ 1.5 ซม.
เกสรเพศผู้ 15 อัน เรียง 3 วง แกนอับเรณูเป็นติ่ง รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมีย ทังใบขนภูวัว: มีขนยาวสีน�้าตาลแดงหนาแน่น ช่อดอกแบบช่อซี่ร่มออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับมี 2 คู่
ยาวกว่ารังไข่เล็กน้อย ผลรูปรีเกือบกลม ยาวประมาณ 2 ซม. ปลายมีติ่งแหลม หลอดกลีบขยายอวบหนาในผล (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ; ภาพดอก - NS; ภาพผล - PK)
แตกเป็น 3 ซีก กลีบเลี้ยงหนา พับงอกลับ โคนแนบติดผล ยาว 1-1.2 ซม. ก้านผล ทังหลังขาว
ยาวประมาณ 1 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พันจ�า, สกุล) Kerriodoxa elegans J. Dransf.
พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออกที่อุบลราชธานี วงศ์ Arecaceae
และภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่สระแก้ว ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ความสูง 100-200 เมตร
ปาล์มล�าต้นเดี่ยว แยกเพศต่างต้น สูง 1-4 ม. หรืออาจสูงได้ถึง 10 ม. ล�าต้น
เอกสารอ้างอิง เส้นผ่านศูนย์กลาง 18-25 ซม. ใบรูปฝ่ามือ เรียงหนาแน่นที่ยอด เส้นผ่านศูนย์กลาง
Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du ยาวได้ถึง 2 ม. กาบใบยาว 45-60 ซม. แผ่นใบพับจีบ มีได้ถึงกว่า 100 จีบ แฉกลึก
Cambodge, du Laos et du Vietnam. 25: 57. น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบยาว 1.5-3 ม. ขอบคม โคนก้าน
ไม่มีเส้นใย ช่อดอกออกที่ซอกใบ แยกแขนงจ�านวนมาก ช่อดอกเพศผู้โค้งลง แกนช่อ
ยาว 15-20 ซม. ก้านช่อยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อแขนงยาว 10-15 ซม. แขนงย่อย
จ�านวนมาก ดอกยาวประมาณ 3 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ไม่มี
เกสรเพศเมียที่เป็นหมัน ช่อดอกเพศเมียตั้งตรง แกนช่อยาว 35-40 ซม. ก้านช่อ
ยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อแขนงยาวได้ถึง 12 ซม. ดอกยาว 5-6 มม. มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
มี 6 อัน ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.5-5 ซม. สุกสีส้ม ผิวมีตุ่ม เนื้อสีขาวนุ่ม มี 1-2 เมล็ด
เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3 ซม.
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่เขาพระแทว จังหวัดภูเก็ต และเขาสก
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ขึ้นตามที่ลาดชัน และหุบเขาใกล้ล�าธาร ความสูงระดับต�่า ๆ
ทะลอก: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง กลีบดอกบิดเวียน ผลเกือบกลม กลีบเลี้ยงหนา โคนแนบติดผล พับงอกลับ
(ภาพ: ดงฟ้าห่วน อุบลราชธานี - RP) สกุล Kerriodoxa J. Dransf. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae มีชนิดเดียว
ทังใบขนภูวัว ชื่อสกุลตั้งตามนายแพทย์ชาวไอริช Arthur Francis George Kerr (1877-1942)
ผู้บุกเบิกการสำารวจและเก็บตัวอย่างพรรณไม้ในไทย และผู้ก่อตั้งหอพรรณไม้
Litsea phuwuaensis Ngerns. แห่งแรกของไทย หรือพิพิธภัณฑ์พืชสิรินธร (BK) ในปัจจุบัน
วงศ์ Lauraceae
เอกสารอ้างอิง
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2.5 ม. แยกเพศต่างต้น มีขนยาวสีน�้าตาลแดงหนาแน่นตาม Barfod, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(3):
กิ่งอ่อน แผ่นใบ ใบประดับ และดอก ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานถึงรูปใบหอก หรือ 422-425.
แกมรูปไข่กลับ ยาว 7-25 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง แผ่นใบด้านล่าง Dransfield, J. (1983). Kerriodoxa, a new Coryphoid palm genus from Thailand.
Principes. Vol. 27(1): 3-11.
มีนวล ก้านใบยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อซี่ร่มออกเป็นกระจุกตามซอกใบ
หรือกิ่ง ก้านช่อสั้น ช่ออ่อนมีใบประดับหุ้ม 2 คู่ เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปไข่
ยาว 3.5-5 มม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียคล้ายกัน กลีบรวม 4-6 กลีบ รูปขอบขนาน
หรือรูปใบหอก ยาว 2-2.5 มม. ก้านดอกยาว 1-2 มม. เกสรเพศผู้ 6-8 อัน เรียง 2 วง
เป็นหมันในดอกเพศเมีย ก้านชูอับเรณูยาว 1.5-2.5 มม. มีขนยาว วงนอกยาวกว่าวงใน
วงในมีต่อม 2 ต่อมที่โคน อับเรณูมี 4 ช่อง รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว
1-2 มม. ผลรูปไข่ ยาว 0.8-1 ซม. ปลายมีติ่งแหลม หลอดกลีบที่ขยายอวบหนา
ยาว 0.8-1.2 ซม. ก้านช่อผลยาวประมาณ 5 มม.
พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่ภูวัว จังหวัดบึงกาฬ และภูลังกา จังหวัดนครพนม
ขึ้นใต้ร่มเงาหรือริมล�าธารในป่าดิบแล้ง ความสูง 150-200 เมตร
สกุล Litsea Lam. อยู่ภายใต้เผ่า Cinnamomeae มีเกือบ 400 ชนิด พบใน
อเมริกาเหนือและอเมริกากลาง เอเชียเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ออสเตรเลีย
และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 35 ชนิด ลักษณะทั่วไปคล้ายสกุล Lindera ที่ ทังหลังขาว: ปาล์มล�าต้นเดี่ยว ใบรูปฝ่ามือ แผ่นใบพับเป็นจีบ แฉกลึก แผ่นใบด้านล่างมีนวล ช่อผลตั้งขึ้น
อับเรณูมี 2 ช่อง และ Neolitsea ที่อับเรณูมี 4 ช่อง แต่ส่วนต่าง ๆ ของดอก (ภาพ: เขาพระแทว ภูเก็ต - RP)
มีจำานวนสอง (dimerous) ซึ่งมีจำานวนสาม (trimerous) ในสกุล Litsea และ
Lindera ชื่อสกุลมาจากภาษาจีน “litse” หมายถึงผลคล้ายผลพลัมขนาดเล็ก ทับทิม
Punica granatum L.
เอกสารอ้างอิง
Ngernsaengsaruay, C. (2004). A new species of Litsea (Lauraceae) from Thailand. วงศ์ Lythraceae
Thai Forest Bulletin (Botany) 32: 110-114. ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 5 ม. หรือมากกว่า กิ่งมักลดรูปเป็นหนาม ใบเรียงเกือบ
Ngernsaengsaruay, C., D.J. Middleton and K. Chayamarit. (2011). A revision of ตรงข้ามหรือรอบข้อ รูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 2-10 ซม. ดอกออก
the genus Litsea Lam. (Lauraceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany)
39: 40-119. เป็นกระจุก 1-5 ดอก ตามปลายกิ่งหรือซอกใบ เกือบไร้ก้าน ฐานดอกรูปกรวยหนา
196
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 196 3/1/16 5:27 PM