Page 221 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 221

เทียนธารา
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                           สกุล Abroma Jacq. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
                                                                           Byttnerioideae มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “broma” อาหาร และ
                                                                           “a” ไม่ หมายถึงพืชที่ไม่ใช่อาหาร

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 542-544.
                                                                           Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
                                                                              Vol. 12: 322.



                      เทียนดอย: เดือยโค้งเล็กน้อย เรียวยาว กลีบดอกกลีบกลางรูปหัวใจกว้าง กลีบปีกคู่ในขนาดเท่า ๆ คู่นอก โคนด้านใน
                    มีปื้นขาว มีจุดสีเหลือง ผลเต่งกลาง มีขนหนาแน่น (ภาพ: ภูกระดึง เลย - PK)








                                                                          เทียนด�า: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ดอกห้อยลง กลีบดอกรูปใบพาย เรียงตรงข้ามกลีบเลี้ยง ผลตั้ง รูปกรวย
                                                                        ปลายตัด มีสันเป็นปีก ก้านผลยาว (ภาพ: ถ�้าพรรณรา นครศรีธรรมราช - RP)
                                                                        เทียนใต้
                                                                        Impatiens platypetala Lindl.
                                                                        วงศ์ Balsaminaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Impatiens betongensis Craib
                                                                            ไม้ล้มลุก สูง 30-50 ซม. มีเหง้า ล�าต้นเกลี้ยง หูใบเป็นต่อม ใบเรียงตรงข้าม
                      เทียนดอยตุง: ท้องใบมีสีเขียวนวล กลีบปากด้านในมีลายจุดสีน�้าตาลแดง กลีบดอกกลีบกลางพับงอกลับประมาณ  หรือเรียงรอบข้อ รูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาวได้ถึง 12 ซม. ขอบจักตื้นห่าง ๆ
                    กึ่งหนึ่ง กลีบปีกคู่นอกเรียวยาว เชื่อมติดเกินกึ่งหนึ่ง เดือยพับงอกลับ (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - SSi)
                                                                        แผ่นใบมีขนยาวประปรายด้านล่าง มีนวล ก้านใบยาว 0.5-4 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ
                                                                        สีม่วง ก้านดอกยาว 3-7 ซม. กลีบเลี้ยง 2 กลีบ เป็นติ่งแหลม ยาว 8-9 มม. กลีบปาก
                                                                        รูปเรือ เดือยยาว 2-4 ซม. กลีบดอกกลีบกลางรูปไข่กลับกว้าง ยาวประมาณ 1.5 ซม.
                                                                        ปลายเว้าตื้น เส้นกลางกลีบเป็นสันปีก มีขน กลีบปีกแยกกัน ยาว 2-2.5 ซม. คู่นอก
                                                                        มักยาวกว่าคู่ในเล็กน้อย ปลายกลีบจัก 2 พู โคนกลีบสีเข้ม ผลเต่งกลาง ยาว
                                                                        1.5-2 ซม. เมล็ดมีขนยาว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล)
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา และชวา ในไทยพบทางภาคใต้ที่ระนอง
                                                                        สุราษฎร์ธานี ยะลา ปัตตานี ขึ้นตามริมล�าธารในป่าดิบชื้น และบนเขาหินปูน ความสูง
                                                                        200-500 เมตร คล้ายเทียนป่า I. griffithii Hook. f. & Thomson var. sarcantha
                      เทียนดารณี: ถิ่นที่อยู่ตามเขาหินปูน กลีบปีกบิดเบี้ยว เดือยพับงอกลับ กลีบปีกคู่นอกเชื่อมติดกันเกินกึ่งหนึ่ง    (Hook. f. ex Ridl.) T. Shimizu แต่เทียนป่าช่วงโคนล�าต้นทอดเลื้อย ล�าต้นและใบ
                    (ภาพ: เมืองคลอง-เชียงดาว เชียงใหม่ - PK)            มีขนยาว ก้านใบเกือบไร้ก้านหรือมีก้านสั้น ๆ
                    เทียนดำา                                            เทียนทุ่ง
                    Abroma augusta (L.) L. f.                           Impatiens masonii Hook. f.
                    วงศ์ Malvaceae                                        ชือพ้อง Impatiens pseudochinensis T. Shimizu
                      ชื่อพ้อง Theobroma augustum L.
                                                                           ไม้ล้มลุก สูง 30-50 ซม. มีหูใบเป็นต่อม ใบเรียงตรงข้าม รูปแถบ ยาว 3-15 ซม.
                       ไม้พุ่ม สูง 1-5 ม. มีขนรูปดาวตามกิ่ง แผ่นใบ กลีบเลี้ยง และผล หูใบรูปแถบ ยาว   โคนตัดหรือรูปหัวใจ ไร้ก้าน ขอบจักซี่ฟันห่าง ๆ แผ่นใบมีนวลด้านล่าง ดอกสีชมพู
                    0.5-1 ซม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปหัวใจหรือคล้ายฝ่ามือ 3-5 แฉก กว้าง 4-18 ซม.   ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ก้านดอกยาว 3-5 ซม. เกลี้ยง กลีบเลี้ยง 2 กลีบ รูปไข่ ยาว
                    ยาว 8-22 ซม. โคนเบี้ยวเล็กน้อย ขอบจักฟันเลื่อยตื้น ๆ หรือเรียบ เส้นโคนใบ  0.7-1 ซม. กลีบปากกว้าง 1-1.5 ซม. ลึกประมาณ 1 ซม. เดือยโค้งยาว 2.5-3.5 ซม.
                    ข้างละ 1-3 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 18 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาว   กลีบดอกกลีบกลางรูปหัวใจ ยาว 1.2-1.8 ซม. ปลายเว้าตื้น กลีบปีกยาว 2.5-3.5 ซม.
                    5-10 ซม. ออกตรงข้ามใบหรือปลายกิ่ง มี 1-5 ดอก ห้อยลง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ   คู่นอกรูปไข่กลับ ยาว 2-2.5 ซม. คู่ในรูปรีกว้าง ยาว 1.2-1.5 ซม. ปลายเว้าตื้น
                    แยกจรดโคน รูปขอบขนาน ยาว 1.5-1.8 ซม. ติดทน ดอกสีม่วงอมแดง มี 5 กลีบ   ผลเต่งกลาง เกลี้ยง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล)
                    เรียงตรงข้ามกลีบเลี้ยง รูปใบพาย ยาว 2-2.5 ซม. โคนเรียวแคบเป็นก้านสั้น ๆ
                    แนบติดเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน เกสรเพศผู้ 15 อัน ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน อับเรณู  พบที่พม่าตอนบน ในไทยพบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ ล�าพูน เพชรบูรณ์
                    แยกเป็น 5 กลุ่ม ติดระหว่างเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันที่มี 5 อัน ติดหันออก เกสรเพศผู้  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ภูกระดึง จังหวัดเลย และภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ ขึ้นตาม
                    ที่เป็นหมันขอบมีขนครุย รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมียรูปกระสวย จัก 5 พู ผลแห้งแตก   ทุ่งหญ้าในป่าเต็งรังหรือป่าสนเขา ความสูง 800-1300 เมตร คล้ายหญ้าเทียน
                    รูปกรวย ปลายตัด ตั้งขึ้น กว้างยาว 4-6 ซม. สูง 2.5-3 ซม. มี 5 สันเป็นปีก ก้านผล  I. chinensis L. แต่ก้านดอกเกลี้ยง กลีบเลี้ยงรูปไข่ และกลีบปีกคู่ในใหญ่กว่า
                    ยาวได้ถึง 4 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก สีด�า ขนาดประมาณ 2 มม.
                       พบที่อินเดีย จีน เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ออสเตรเลีย และ   เทียนธารา
                    หมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตาม  Impatiens mengtszeana Hook. f.
                    ที่โล่งริมล�าธารในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ   ไม้ล้มลุก หรือทอดเลื้อย มีรากตามข้อ สูงได้ถึง 60 ซม. ใบเรียงเวียน รูปไข่กลับ
                    500 เมตร เปลือกใช้ท�าเชือก รากและใบใช้ขับระดู ขับปัสสาวะ มีสรรพคุณลด  หรือรูปใบหอก ยาว 3.5-8 ซม. ก้านใบยาวได้ถึง 2.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ
                    น�้าตาลในเลือด และรักษาโรคฝีหนอง                    ก้านช่อยาว 3-5 ซม. มี 1-2 ดอกในแต่ละช่อ ใบประดับย่อยรูปใบหอก ยาวประมาณ


                                                                                                                    201






        59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd   201                                                                 3/1/16   5:28 PM
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226