Page 223 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 223
พบที่อินเดีย ศรีลังกา ไห่หนาน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค เทียนผาไทย สารานุกรมพืชในประเทศไทย เทียนแพงพวย
ขึ้นเป็นวัชพืชตามทุ่งนา ที่โล่งที่ชื้นแฉะ ความสูงไม่เกิน 100 เมตร Impatiens nalampoonii T. Shimizu
สกุล Hydrocera Blume ex Wight & Arn. มีเพียงชนิดเดียว พบเฉพาะในเอเชีย ไม้ล้มลุก สูง 30-40 ซม. ใบเรียงเวียน รูปไข่หรือรูปใบหอก มีต่อมคู่ที่โคน ก้านใบ
เขตร้อน ลักษณะทั่วไปคล้ายกับสกุลเทียน Impatiens แต่ดอกสกุลเทียน มีกลีบ ยาวได้ถึง 4 ซม. ดอกสีม่วง ห้อยลง ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ก้านดอกยาว 1-2 ซม.
ดอกกลีบข้างเชื่อมติดกันเป็นกลีบปีก และผลแบบผลแห้งแตก กลีบเลี้ยง 2 กลีบ รูปรีกว้าง ยาวประมาณ 8 มม. ปลายมีติ่ง กลีบปากเป็นถุง
กว้างประมาณ 2.3 ซม. ลึกประมาณ 2 ซม. ด้านในมีปื้นสีเหลือง เดือยคล้ายตะขอ
เอกสารอ้างอิง สั้น ๆ ม้วนงอ กลีบดอกกลีบกลางรูปไข่ ยาวประมาณ 1.7 ซม. ปลายกลีบเว้าตื้น
Chen, Y., S. Akiyama and H. Ohba. (2007). Balsaminaceae. In Flora of China โคนด้านนอกแกนกลางเป็นสันปีก กลีบปีกเชื่อมติดกัน แฉกลึกประมาณ 7 มม.
Vol. 12: 113.
Grey-Wilson, C. (1980). Hydrocera triflora, its floral morphology and relationship คู่นอกคล้ายครึ่งวงกลม ยาวประมาณ 2.5 ซม. คู่ในรูปไข่ ยาวประมาณ 1.8 ซม.
with Impatiens. Kew Bulletin 35: 213-219. ผลรูปกระสวย เต่งกลาง ยาวประมาณ 1.5 ซม. เมล็ดมีตุ่มละเอียด (ดูข้อมูลเพิ่มเติม
ที่ เทียน, สกุล)
พืชถิ่นเดียวของไทย พบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือที่ล�าปาง ภาคกลางที่สระบุรี
และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามเขาหินปูน ความสูง 100-800 เมตร
ค�าระบุชนิดตั้งตามชื่อนายอนันต์ ณ ล�าพูน ผู้ร่วมส�ารวจพืชวงศ์เทียน
เทียนพระบาท
Impatiens charanii T. Shimizu
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 60 ซม. ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3-22 ซม.
มีต่อมคู่ที่โคน ก้านใบยาวได้ถึง 3 ซม. ดอกสีม่วงอมชมพู ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่
ก้านดอกยาวได้ถึง 3 ซม. มีขนสั้น กลีบเลี้ยง 4 กลีบ คู่นอกติดกันคล้ายถุง มีขน
ประปราย คู่ในรูปแถบสั้น ๆ กลีบปากเป็นถุง กว้างยาวประมาณ 8 มม. เดือยสั้น
จัก 2 พู กลีบดอกกลีบกลางรูปรี ยาวประมาณ 1.3 ซม. ด้านบนมีติ่งคล้ายเขา
กลีบปีกแฉกลึก คู่ในกลม ยาวประมาณ 1.2 ซม. คู่นอกรูปขอบขนาน ยาวประมาณ
เทียนนา: ถิ่นที่อยู่เป็นกลุ่มใหญ่ตามที่ชื้นแฉะ ล�าต้นเป็นเหลี่ยม ช่อดอกสั้น ออกตามซอกใบ มี 3-5 ดอก ผลคล้ายผล 2.5 ซม. ปลายเว้าตื้น ด้านในมีปื้นสีเหลืองและจุดสีส้มแดง โคนมีเขาแหลม 1 คู่
สดมีหลายเมล็ด รูป 5 เหลี่ยม (ภาพดอกและถิ่นที่อยู่: นครนายก, ภาพผล: หนองทุ่งทอง สุราษฎร์ธานี; - RP)
ผลยาวประมาณ 1.5 ซม. เป็นร่องตามยาว มีขน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล)
เทียนป่า พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคกลางที่พระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ขึ้นใต้ร่มเงา
Impatiens griffithii Hook. f. & Thomson var. sarcantha (Hook. f. ex บนเขาหินปูน ความสูง 100-300 เมตร ค�าระบุชนิดตั้งตามชื่อนายจรัญ ฉ. เจริญผล
Ridl.) T. Shimizu อดีตหัวหน้าสวนพฤกษศาสตร์พุแค จังหวัดสระบุรี ผู้ร่วมส�ารวจพืชวงศ์เทียน
วงศ์ Balsaminaceae เทียนพังงา
ชื่อพ้อง Impatiens sarcantha Hook. f. ex Ridl.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 40 ซม. มีขนหยาบหนาแน่นหรือประปรายตามล�าต้น Impatiens macrosepala Hook. f.
แผ่นใบ และก้านดอก หูใบมีต่อม ใบเรียงตรงข้ามหรือรอบข้อ 3-5 ใบ รูปใบหอก ไม้ล้มลุก สูง 20-50 ซม. ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 5-17 ซม. มี
หรือแกมรูปไข่ ขอบจักซี่ฟันห่าง ๆ แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบสั้น ดอกออกเดี่ยว ๆ ต่อมคู่ที่โคน ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง โคนมักเบี้ยว แผ่นใบมีขนกระจาย
สีม่วงอมชมพู ก้านดอกยาว 3-7 ซม. กลีบเลี้ยง 2 กลีบ รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว ทั้งสองด้าน ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ดอกสีขาว ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ก้านดอก
ประมาณ 8 มม. กลีบปากรูปเรือ กว้าง 7-9 มม. ลึก 1-2 มม. เดือยยาว 3-3.5 ซม. ยาวได้ถึง 1.5 ซม. มีขน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ คู่นอกรูปไข่เชื่อมติดกัน ยาว 1-1.2 ซม.
โค้งเล็กน้อย กลีบดอกกลีบกลางรูปไข่กลับกว้าง ยาว 1.2-1.6 ซม. เส้นกลางเป็น ปลายมีติ่งแหลม คู่ในรูปแถบ ยาวประมาณ 3 มม. กลีบปากเป็นถุง กว้างประมาณ
ปีกแคบ กลีบปีกแฉกลึก ยาว 1.5-2 ซม. คู่นอกใหญ่กว่าคู่ในเล็กน้อย ผลเต่งกลาง 1 ซม. ลึกประมาณ 5 มม. เดือยสั้น จัก 2 พู กลีบดอกกลีบกลางรูปไข่กลับ ยาว
ยาวประมาณ 1.5 ซม. เมล็ดมีขนยาว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล) ประมาณ 8 มม. ด้านบนเป็นสันปีก ปลายมีเขาสั้น ๆ กลีบปีกยาว 1.4-1.8 ซม.
คู่นอกรูปขอบขนาน ปลายเว้าตื้น ด้านในมีปื้นสีเหลืองและจุดสีส้มแดง โคนเป็นสัน
พบที่คาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่ตราด (เขากวบ) คล้ายเขา คู่ในรูปรีกว้าง ผลเต่งกลาง ยาว 2-3 ซม. เมล็ดมีตุ่ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
และภาคใต้ที่ระนอง พังงา กระบี่ นครศรีธรรมราช ตรังสงขลา ขึ้นตามที่ชื้นแฉะ เทียน, สกุล)
ในป่าดิบชื้นหรือที่โล่งในป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร คล้ายเทียนใต้
I. platypetala Lindl. ล�าต้นและใบส่วนมากเกลี้ยง ส่วน var. griffithii พบที่ พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยที่พังงา กระบี่ นครศรีธรรมราช และ
คาบสมุทรมลายู ใบเรียวแคบกว่า ตรัง ขึ้นบนเขาหินปูนในป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 150 เมตร
เทียนปีกผีเสื้อ เทียนแพงพวย
Impatiens patula Craib Impatiens spectabilis Triboun & Suksathan
ไม้ล้มลุก สูง 10-40 ซม. ใบเรียงเวียน รูปใบหอก ยาวได้ถึง 8 ซม. มีต่อมคู่ ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 40 ซม. มีรากตามข้อใกล้โคน ใบเรียงเวียน รูปไข่ถึงรูปใบหอก
ใกล้โคน แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ด้านบนมีครุย ก้านใบยาวได้ถึง 3 ซม. ยาว 5-11 ซม. ขอบใบจักฟันเลื่อยตื้น ห่าง ๆ โคนมีต่อมคู่รูปกระบอง ก้านใบยาว
ดอกออกเดี่ยว ๆ สีชมพูอมม่วง ก้านดอกยาวได้ถึง 2.5 ซม. มีขนยาว กลีบเลี้ยงคู่ข้าง 1-3.5 ซม. ดอกสีชมพูอมม่วง ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ ก้านดอกยาวได้ถึง 3 ซม.
รูปแถบหรือรูปใบหอก ยาว 3-3.5 มม. ด้านนอกมีขนหยาบ กลีบปากรูปกรวย กลีบเลี้ยง 4 กลีบ คู่นอกรูปไข่ ยาว 0.6-1 ซม. คู่ในลดรูปคล้ายเกล็ด กลีบปาก
กว้างและลึกประมาณ 5 มม. มีขนละเอียด เดือยตรงหรือโค้งเล็กน้อย ยาว 2-3 ซม. รูปกรวยตื้น ๆ กว้างประมาณ 1.4 ซม. ลึกประมาณ 6 มม. เดือยเรียวโค้ง ยาวประมาณ
กลีบดอกกลีบกลางรูปหัวใจ ยาวประมาณ 7 มม. เส้นกลางกลีบมีขนหยาบ ปลาย 4.5 ซม. กลีบดอกกลีบกลางรูปหัวใจ ยาวประมาณ 1.3 ซม. กลีบปีกแฉกลึก
มีสันเป็นเขา กลีบปีกแยกกัน ยาวประมาณ 1.4 ซม. คู่ในยาวกว่าคู่นอก กางออก ขนาดเท่า ๆ กัน รูปไข่กลับ ยาว 1.7-2.3 ซม. ปลายมีติ่ง โคนชิดกัน ผลเต่งกลาง
คล้ายปีกผีเสื้อ ผลเต่งกลาง มีขนหยาบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล) (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล)
พืชถิ่นเดียวของไทย พบหนาแน่นทางภาคเหนือที่ดอยหัวหมด จังหวัดตาก และ พบที่พม่า ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามเขาหินปูน
ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามหินปูนที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ความสูง 100-200 เมตร
203
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 203 3/1/16 5:29 PM