Page 227 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 227
ไทรหิน
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ไทร, สกุล หรืออยู่ใกล้ช่องเปิด กลีบรวม 3-5 กลีบ เกสรเพศผู้ 1 อัน ยอดเกสรเพศเมีย
Ficus L. ส่วนมากมี 1 อัน ในไทยมีประมาณ 45 ชนิด เช่น ไทร F. annulata Blume
นิโครธ F. benghalensis L. ไทรย้อย F. benjamina L. มะดื่อหิน F. orthoneura H.
วงศ์ Moraceae Lév. & Vaniot โพศรีมหาโพธิ F. religiosa L. และโพขี้นก F. rumphii Blume
ไม้ต้น ไม้พุ่ม หรือไม้เถา ขึ้นบนดินหรือกึ่งอิงอาศัย แยกเพศร่วมต้นหรือต่างต้น
ส่วนต่างๆ มีน�้ายางขาวหรือใส หูใบหุ้มตา กิ่งมีรอยแผลหูใบเป็นวงรอบข้อ ไทรใบขน
ใบส่วนมากเรียงเวียนหรือเรียงสลับระนาบเดียว แผ่นใบด้านล่างมักมีต่อมไขตาม Ficus fulva Reinw. ex Blume
โคนเส้นใบใกล้โคนใบ หรือมีผลึกซิสโทลิท (cystoliths) ดอกขนาดเล็กจ�านวนมาก
เรียงแน่นอยู่ภายในฐานรองดอกที่โอบหุ้มดอกไว้ภายใน เรียกว่า syconium ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งมีขนหยาบหรือขนยาว หูใบยาว 0.8-3.2 ซม. ร่วงเร็ว
หรือ fig มีช่องเปิด มักมีใบประดับที่โคน ดอกเพศผู้ กลีบรวม 2-6 กลีบ แยก มีขน ใบรูปรี รูปไข่กลับ รูปขอบขนาน หรือเกือบกลม ยาว 6-35 ซม. ใบอ่อนบางครั้ง
หรือติดกัน หรือไม่มีกลีบรวม เกสรเพศผู้ 1-5 อัน ดอกเพศเมียก้านยาว กลีบรวม รูปฝ่ามือ 3-7 แฉก ขอบใบจักซี่ฟัน แผ่นใบมีขนทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบย่อย
3-5 กลีบ แยกหรือติดกัน ยอดเกสรเพศเมีย 1-2 อัน ดอกที่เป็นหมันเป็นปม หรือ แบบขั้นบันได ก้านใบยาวได้ถึง 30 ซม. ในใบอ่อน ดอกอยู่ภายในฐานดอกที่ขยาย
gall flower ก้านเกสรเพศเมียสั้น เป็นที่อยู่ของต่อไทร (wasp) บางชนิดมีดอก ออกเป็นคู่ตามกิ่งที่ใบร่วง รูปกลมหรือรูปรี มีขนหนาแน่น เส้นผ่านศูนย์กลาง
แบบไม่มีเพศหรือ neuter flower คือไม่มีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ซึ่งมี 1.2-2.5 ซม. สุกสีเหลืองหรือส้ม ไร้ก้านหรือก้านยาว 2-5 มม. ช่องเปิดกว้าง
ความสัมพันธ์กับแมลงแบบพึ่งพากัน ผลขนาดเล็ก คล้ายแบบผนังชั้นในแข็งหรือ ประมาณ 4 มม. มีขนด้านใน ใบประดับขนาดใหญ่ (สกุลย่อย Ficus)
ผลแห้งเมล็ดล่อน เมล็ดมีเอนโดสเปิร์ม พบที่หมู่เกาะนิโคบาร์ ของอินเดีย พม่า คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา
และชวา ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง
สกุล Ficus มีมากกว่า 800 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเขตร้อน ในไทยมีประมาณ ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1800 เมตร
115 ชนิด เป็นพืชต่างถิ่น 7-8 ชนิด หลายชนิดผลสุกกินได้ และมีสรรพคุณด้าน
สมุนไพรหลายอย่าง ชื่อสกุลมาจากภาษาละตินที่ใช้เรียกชนิด F. carica L. แบ่ง
เป็น 6 สกุลย่อย ไทรย้อย
Ficus benjamina L.
1. Ficus แยกเพศต่างต้น figs มักออกเป็นคู่ตามซอกใบหรือตามกิ่งที่ใบหลุดร่วง
ใบประดับที่โคน 3 ใบ ดอกเพศผู้อยู่ใกล้ช่องเปิดหรือกระจายทั่วไป กลีบรวม ไม้ต้น กึ่งอาศัยหรือขึ้นบนพื้นดิน สูงได้ถึง 35 ม. หูใบยาว 0.5-2.8 ซม. ร่วงเร็ว
3-5 กลีบ แยกกัน เกสรเพศผู้ 1-4 อัน ดอกเพศเมียก้านเกสรเพศเมียยาวไม่เท่ากัน ใบรูปรีถึงหรือรูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 2-14 ซม. แผ่นใบหนา เกลี้ยง
ยอดเกสรเพศเมียแตกแขนงหรือเรียบ ในไทยมีประมาณ 20 ชนิด เช่น ไทรใบขน เส้นแขนงใบย่อยเรียงขนานกัน มีต่อมไขที่โคนเส้นกลางใบ ก้านใบยาว 0.5-2 ซม.
F. fulva Reinw. ex Blume มะนอดน้ำา F. hirta Vahl และเดื่อน้ำา F. ischnopoda ดอกอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ รูปกลม รูปไข่กลับ
Miq. หรือรูปรี เกลี้ยงหรือมีขนประปราย เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1.8 ซม. สุกสีเหลือง
อมส้ม แดงเข้ม หรือม่วง ไร้ก้าน ช่องเปิดกว้าง 1-2 มม. มีขนประปรายด้านใน
2. Pharmacosycea แยกเพศร่วมต้น แผ่นใบมีผลึกซิสโทลิท figs ออกเป็นคู่ ใบประดับด้านบนขนาดเล็ก เรียงซ้อนเหลื่อม (สกุลย่อย Urostigma)
ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก ส่วนมากออกตามซอกใบ มีก้านหรือก้านผลเทียม
ใบประดับที่โคนส่วนมากมี 3 ใบ ช่องเปิดมี 3-5 ใบ กลีบรวม 2-6 กลีบ เกสรเพศผู้ พบที่ปากีสถาน อินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
1-3 อัน มีที่เป็นหมัน ในไทยมี 5 ชนิด เช่น มะเดื่อกวาง F. callosa Willd. ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และ
ป่าดิบเขา หรือเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร เป็นไม้ประดับให้ร่มเงา
3. Sycidium แยกเพศต่างต้น แผ่นใบมีผลึกซิสโทลิท figs มีปุ่มหรือจุดโปร่งแสง
ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นคู่ ตามซอกใบ กิ่ง หรือลำาต้น ใบประดับ 1-3 ใบ ส่วนมากมี ไทรย้อยใบทู่
ใบประดับด้านข้าง ช่องเปิดขนาดเล็กหรือมีใบประดับที่ปลายชี้ขึ้น ดอกเพศผู้ Ficus microcarpa L. f.
อยู่ใกล้ช่องเปิด กลีบรวม 3-6 กลีบ เกสรเพศผู้มักมี 1 อัน มีดอกเพศผู้ที่เป็นหมัน
ดอกเพศเมีย กลีบรวม 3-6 กลีบ แยกกัน ในไทยมี 15 ชนิด เช่น ไทรหิน F. ไม้ต้น บางครั้งรอเลื้อย กึ่งอาศัยหรือขึ้นบนพื้นดิน สูงได้ถึง 30 ม. หูใบยาว
anastomosans Wall. ex Kurz มะนอดน้ำา F. heterophylla L. f. และมะเดื่อหิน 0.5-1.5 ซม. ร่วงเร็ว ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับเกือบกลม ยาว 2-14 ซม.
F. montana Burm. f. ขอบใบหนาช่วงโคน แผ่นใบหนา เส้นโคนใบ 1 คู่ เห็นชัดเจน เส้นแขนงใบย่อย
เรียงขนานกัน มีต่อมไขที่โคนเส้นกลางใบ ก้านใบยาว 0.5-3 ซม. ดอกอยู่ภายใน
4. Sycomorus แยกเพศต่างต้นหรือร่วมต้น มักมีต่อมไขตามข้อกิ่ง figs เกลี้ยง ฐานดอกที่ขยายออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
มีปุ่มหรือเป็นสัน ออกเป็นคู่หรือออกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ ตามกิ่ง หรือเป็นช่อ 0.5-1 ซม. สุกสีชมพูหรือม่วงอมด�า ไร้ก้าน ช่องเปิดกว้าง 1.5-2 มม. มีขนด้านใน
ตามลำาต้นหรือไหล ใบประดับ 3-7 ใบ ส่วนมากมีใบประดับด้านข้าง ช่องเปิดมี ใบประดับด้านบน 3 อัน เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบรวมด้านในสีแดง ขอบสีขาว
ใบประดับมากกว่า 3 ใบ ดอกเพศผู้เรียงอยู่ใกล้ช่องเปิด ส่วนมากมีใบประดับย่อย (สกุลย่อย Urostigma)
2 ใบ วงกลีบรวม 2-3 กลีบ เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 2 อัน ดอกเพศเมีย วงกลีบรวม พบที่ปากีสถาน อินเดีย เนปาล ศรีลังกา จีนตอนใต้ ญี่ปุ่น ไต้หวัน พม่า ภูมิภาค
3-6 กลีบ เชื่อมติดกัน แยกกัน หรือลดรูป ยอดเกสรเพศเมีย 1 อัน ในไทยมี อินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย ในไทยทั่วทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง
ประมาณ 16 ชนิด เช่น เดื่อหว้า F. auriculata Lour. มะเดื่ออุทุมพร F. racemosa L.
จิ้งเขา F. schwarzii Koord. และเดื่อปล้องหิน F. semicordata Buch.-Ham. ex Sm. ป่าดิบชื้น และป่าเบญจพรรณ ป่าเสื่อมโทรมชายทะเล หรือเขาหินปูน ความสูง
ถึงประมาณ 1100 เมตร
5. Synoecia ไม้เถา มีรากเกาะ สั้นๆ ตามข้อ แยกเพศต่างต้น ใบที่โคนรูปร่าง
และขนาดต่างจากใบที่ออกตามเถาที่มี figs ติดอยู่ ปลายใบคล้ายรูปหยดน้ำา ไทรหิน
figs ออกตามกิ่ง ลำาต้น หรือตามไหล ออกเป็นคู่ เป็นกระจุก หรือออกเดี่ยว ๆ Ficus anastomosans Wall. ex Kurz
ใบประดับที่โคน 3 ใบ ส่วนมากไม่มีใบประดับด้านข้าง ช่องเปิดขนาดเล็ก บุ๋ม
เล็กน้อย อาจมีขนแข็งด้านใน เกสรเพศผู้ 1-2 อัน กลีบรวมมีได้ถึง 7 กลีบ หรือไม่มี ไม้พุ่มหรือรอเลื้อย กิ่งมีขนละเอียดหนาแน่น หูใบยาว 2-3 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียง
สีแดงเข้ม รังไข่ส่วนมากมีก้าน มีดอกที่ไม่มีเพศในช่อดอกเพศเมีย ในไทยมี 14 ชนิด สลับระนาบเดียว รูปรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ยาว 2-10 ซม. ขอบจักมนหรือเป็นพู
เช่น ตีนตุ๊กแก F. pumila L. และเดื่อเถาใบใหญ่ F. punctata Thunb. แผ่นใบมีขนละเอียดหรือขนหยาบทั้งสองด้าน เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ
มีต่อมไขตามซอกเส้นใบ ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. ดอกอยู่ภายในฐานดอกที่ขยาย
6. Urostigma ส่วนใหญ่เป็นไม้กึ่งอิงอาศัย มีรากอากาศ แยกเพศร่วมต้น แผ่นใบ ออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ สีเหลืองเปลี่ยนเป็นสีชมพูอมแดง รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง
ด้านล่างมีต่อมไขที่โคนเส้นกลางใบ 1 ต่อม figs เกลี้ยง ออกเป็นคู่หรือออกเดี่ยวๆ 4-5 มม. มีขนละเอียดหรือขนหยาบ ปลายมีติ่งรูปกรวยเป็นขอบ ก้านช่อยาว
ตามซอกใบหรือตามกิ่ง ใบประดับที่โคน 2-3 ใบ ไม่มีใบประดับด้านข้าง ช่องเปิด 1-2 มม. ใบประดับ 3 ใบ ยาวประมาณ 1 มม. รูเปิดกว้างประมาณ 1 มม. ขอบหนา
มีใบประดับ 2-5 ใบ ปิดด้านบน ดอกเพศผู้เรียงกระจายระหว่างดอกเพศเมีย มีขนกระจาย กลีบรวมสีชมพู (สกุลย่อย Sycidium)
207
59-02-089_113-212_Ency new1-3_J-Coated.indd 207 3/1/16 5:30 PM